ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

ชื่อตัวชี้วัด : คำอธิบาย :
มาตรการประหยัดพลังงาน ตามมติคณะรัฐมนตรี 20 มีนาคม 2555
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
การประชุมชี้แจง (ร่าง)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน 2557 เวลา น. ณ ห้องประชุม.
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
สรุปการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
ตัวชี้วัดที่ ๖ ตัวชี้วัดที่ ๖ ร้อยละความสำเร็จของการ เบิกจ่ายเงินงบประมาณ น้ำหนัก ร้อยละ ๕ มิติภายใน.
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน.
นางณัฐชนัญ ศุภพิพัฒน์
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
3.3 ร้อยละผลการปฏิบัติงานตาม แผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร 4.3 การดำเนินการของเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ หน่วยงาน 4.4 ร้อยละของความสำเร็จของ.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
1 3.3 ร้อยละของผลการ ปฏิบัติงานตามแผน กลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาด ฯ ความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง 4.3 ร้อยละของความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง คุณธรรมและ จริยธรรมแก่บุคลากร.
การปรับปรุงกรอบการประเมิน กองบัญชี สำนักการคลัง
กองบัญชี สำนักการคลัง รับผิดชอบ ตัวชี้วัด ในมิติที่ 2
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
โครงสร้างฟอร์มการรายงานข้อมูล
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การประชุมคณะทำงาน PMQA หมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 10)
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
ลักษณะสำคัญขององค์กร
โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลยุทธ์ เด็ด รักษ์ พลังงาน สร้าง จิตสำนึก. แหล่ง แหล่ง พลังงานของไทย เมืองไทย เราอุดมสมบรูณ์ทุกอย่าง จริงมั้ย ? จริง แต่ จริง ไม่หมด รู้หรือไม่ ? เราพึ่งพาตัวเองไม่ได้
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบปรับอากาศ.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ชื่อตัวชี้วัด ชนิดตัวชี้วัด ( แบบปริมาณ / แบบ ขั้นตอน ) ประเภทตัวชี้วัด.....(
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2551 ( เฉพาะในส่วนที่ เกี่ยวข้อง ) ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ราชบุรี ผลงานถึงเดือนพฤษภาคม.
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
การประชุมบริหารจัดการพลังงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ รายละเอียดตัวชี้วัดและเกณฑ์การให้คะแนนตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ที่ กระทรวงพลังงาน เป็นเจ้าภาพ ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ www.e-report.energy.go.th 5 กันยายน 2557

คำอธิบายและเหตุผล    ลดลง 10% Who? What? When? Why? ส่วนราชการ มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ คำอธิบายและเหตุผล Who? What? When? Why?  ประเทศไทยมิได้มีแหล่งพลังงานเชิงพาณิชย์ภายในประเทศมากพอกับความต้องการ ทำให้ต้องพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมูลค่าการนำเข้าสูงถึง 2 ล้านล้านบาทต่อปี และมีอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5 ต่อปี หากลดปริมาณการใช้ลงได้ ก็จะส่งผลให้เงินทุนที่ต้องสำรองไว้สร้างความมั่นคงทางพลังงานปรับลดลงด้วย นำเงินไปพัฒนาประเทศด้านอื่นๆ ส่วนราชการ จัดการใช้ น้ำมันเชื้อเพลิง และ ไฟฟ้า ภายในองค์การ ตั้งแต่ 1 ต.ค 57 ถึง 30 ก.ย. 58  จังหวัด  อุดมศึกษา ปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน อย่างน้อยร้อยละ ของค่ามาตรฐาน ลดลง 10%

ปริมาณการใช้พลังงานจริง มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ สูตรการคำนวณ พิจารณาจากร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของพลังงาน 2 ชนิด คือ [1] ด้านไฟฟ้า และ [2] ด้านน้ำมันเชื้อเพลิง ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน Energy Utilization Index, EUI ( ของปริมาณการใช้พลังงาน ) (ปริมาณการใช้พลังงาน ) 90% มาตรฐาน – จริง ปริมาณการใช้พลังงานจริง เป้าหมาย ลดใช้พลังงานลงให้ได้อย่างน้อย 10% เท่ากับใช้ไม่เกิน 90% ของปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน

เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเฉลี่ย ทั้งหมด ตามกฎกระทรวง ไม่ปรากฏในกฎกระทรวง มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ เกณฑ์การให้คะแนน คิดจาก ของหน่วยงาน ที่เป็นราชการบริหารส่วนกลางในสังกัดกรมที่จัดตั้งขึ้น และหน่วยงานภายในกรมนั้นที่ คะแนนเฉลี่ย ทั้งหมด ตามกฎกระทรวง ไม่ปรากฏในกฎกระทรวง หมายเหตุ ส่วนราชการที่เป็นราชการบริหารส่วนกลางที่ปฏิบัติงานอยู่ในภูมิภาคซึ่งจัดตั้งขึ้นตามกฎกระทรวง จะประเมินรวมกับ จังหวัด การให้คะแนนของแต่ละหน่วยงาน เป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น ระดับ 5 หมายเหตุ สำนักงาน ก.พ.ร. ประเมินระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน โดยใช้ข้อมูลที่ส่วนราชการได้รายงานผลผ่าน www.e-report.energy.go.th เท่านั้น

เกณฑ์การให้คะแนน ❶ ดำเนินการ ❷ รายงานผล มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ เกณฑ์การให้คะแนน ❶ ดำเนินการ ❷ รายงานผล

มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ดำเนินการตามแผนปี 58

มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ดำเนินการตามแผนปี 58

1 รายละเอียดเกณฑ์ที่ มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ คะแนนเต็มรวมไฟฟ้าและน้ำมัน = 1.000 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ไฟฟ้า น้ำมัน มีการติดตามและรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของปีงบประมาณ 2558 0.5000 1.1 รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2557 - มีนาคม 2558) และ 0.2500 1.2 รอบ 12 เดือน (เมษายน 2558 - กันยายน 2558)

มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ บันทึกข้อมูลเกณฑ์ที่ 1

2 รายละเอียดเกณฑ์ที่ ข้อมูลพื้นฐาน ครบถ้วน 12 เดือน มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ รายละเอียดเกณฑ์ที่ 2 คะแนนเต็มรวมไฟฟ้าและน้ำมัน = 1.000 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ไฟฟ้า น้ำมัน รวมคะแนนในระดับคะแนนที่ 2 0.5000 2.1 มีการรายงาน สำหรับการประเมินปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน และค่าดัชนีการใช้พลังงานประจำปีงบประมาณ 2558 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ สนพ. กำหนดได้แล้วเสร็จ และ นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 ถึงเดือนกันยายน 2558 0.2500 2.2 มีการรายงานข้อมูล (ไฟฟ้า หน่วย kWh; กิโลวัตต์-ชั่วโมง) (น้ำมัน หน่วย ลิตร) ประจำปีงบประมาณ 2558 นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 ถึงเดือนกันยายน 2558 ข้อมูลพื้นฐาน ครบถ้วน 12 เดือน ปริมาณพลังงานที่ใช้จริง ครบถ้วน 12 เดือน

บันทึกข้อมูลเกณฑ์ที่ มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ บันทึกข้อมูลเกณฑ์ที่ 2.1

2.1 สูตรคำนวณค่ามาตรฐาน มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ข้อมูลพื้นฐาน จัดกลุ่มหน่วยงานออกตามลักษณะงาน กำหนดสูตรประมาณค่ามาตรฐานการใช้พลังงานจำแนกแต่ละกลุ่มหน่วยงานตามลักษณะงาน ค่าสัมประสิทธิ์ของแต่ละกลุ่ม ได้มาจากข้อมูลที่แต่ละหน่วยงานบันทึกไว้ แล้วนำไปหาค่าเฉลี่ย ศึกษารายละเอียด และดาวน์โหลดจาก www.e-report.energy.go.th/

บันทึกข้อมูลเกณฑ์ที่ มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ บันทึกข้อมูลเกณฑ์ที่ 2.2

รายละเอียดเกณฑ์ที่ 3,4,5 มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ คะแนนเต็มรวมไฟฟ้าและน้ำมัน = 3.000 คะแนน

อธิบายวิธีพิจารณา ระดับคะแนนที่ 3, 4 และ 5   /  3,4,5 มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ อธิบายวิธีพิจารณา 3,4,5 ระดับคะแนนที่ 3, 4 และ 5  ระบบตรวจความครบถ้วนของข้อมูลของหน่วยงานตาม ระดับคะแนน 2.1 และ 2.2 ของแต่ละด้าน (ไฟฟ้า กับ น้ำมัน) ข้อมูลด้านใดครบ (คะแนนระดับที่ 2.1+2.2 = 0.50) ระบบจะนำข้อมูลที่ หน่วยงานบันทึกตามระดับคะแนน 2.1 และ 2.2 ไปเข้าสูตรคำนวณ EUI ข้อมูลด้านใดไม่ครบ (คะแนนระดับที่ 2.1+2.2 = 0.50) ระบบจะไม่ คำนวณขั้นต่อไป และทำการประมวลคะแนนเพียงถึงระดับ 2 เท่านั้น ระบบจะนำผลลัพธ์ที่ได้จากข้อ 2. ไปเทียบบัญญัติไตรยางศ์เพื่อประเมิน คะแนนให้กับหน่วยงาน  / 

มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ อธิบายวิธีพิจารณา 3,4,5

ผลรวมของคะแนนของหน่วยงานในสังกัดทั้งหมด จำนวนหน่วยงานในสังกัดทั้งหมด มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ อธิบายวิธีพิจารณา 3,4,5 ระดับคะแนนที่ 3, 4 และ 5  การคิดคะแนนของส่วนราชการ ส่วนราชการ ที่มีจำนวนหน่วยงานในสังกัดและหรือในพื้นที่ที่รับผิดชอบ มาร่วมในการประเมินผลการประหยัดพลังงาน จะได้รับคะแนนส่วนเพิ่มอีก ของคะแนนที่ได้รับ โดยส่วนราชการนั้น จะต้องมีหน่วยงานที่รายงานข้อมูลผ่าน www.e-report.energy.go.th ครบทุกขั้นตอนเป็นจานวนไม่น้อยกว่า ของจำนวนหน่วยงานทั้งหมด ค่าเฉลี่ยจากคะแนน ของหน่วยงานใน สังกัดทั้งหมด ผลรวมของคะแนนของหน่วยงานในสังกัดทั้งหมด จำนวนหน่วยงานในสังกัดทั้งหมด  มากกว่า 30 หน่วยงาน 0.05 เท่า ร้อยละ 80

มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ สรุประดับคะแนน ปี 58

การขออุทธรณ์ ถือข้อมูลปรากฏ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน เป็นหลัก มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ การรายงาน ปี 58 การขออุทธรณ์ ถือข้อมูลปรากฏ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน เป็นหลัก

ดูรายงาน ปี 58 หรือย้อนหลัง มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ดูรายงาน ปี 58 หรือย้อนหลัง ดูข้อมูลย้อนหลังตั้งแต่ปี 50 ดูรายงาน ปี 58

การขอเปลี่ยนแปลงฯ ปี 58 รอส่งพร้อม SAR รอบ 12 เดือน มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ การขอเปลี่ยนแปลงฯ ปี 58 รอส่งพร้อม SAR รอบ 12 เดือน

สรุปเกณฑ์และเงื่อนไข ปี 58 มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ สรุปเกณฑ์และเงื่อนไข ปี 58

ศึกษารายละเอียดเกณฑ์เงื่อนไขและวิธี รายงาน โดยสามารถดาวน์โหลดจาก www.e-report.energy.go.th/ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร: 02 612 1555 ต่อ 364 หรือ 358