การทำงานกับวัน/เวลา ในภาษา php

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

เรื่อง นาฬิกา นาฬิกาข้อมือ นาฬิกาแขวน นาฬิกาปลุก นาฬิกาจับเวลา
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
LAB # 3 Computer Programming 1
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
ฟังก์ชันของ PHP ฟังก์ชันคือ โปรแกรมย่อยที่สามารถประมวลผล และ คืนผลลัพธ์จาการประมวลผลนั้นสู่โปรแกรมหลักได้ ซึ่งจำเป็นในการเขียนโปรแกรมเพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น.
SCC : Suthida Chaichomchuen
วิชาประวัติศาสตร์ไทย 1 รหัสวิชา ส30108
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 7 การกำหนดชนิดข้อมูลใหม่
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
วันปีใหม่.
การแสดงข้อความ echo - echo “Hello”; // Hello - $text = “ World”;
บทที่ 2 อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ ชุดของตัวแปรเดียวกัน ซึ่งสมาชิกของอาร์เรย์จะเป็นตัวแปรพื้นฐาน จำนวนสมาชิกในอาร์เรย์มีขนานแน่นอน และสมาชิกของอาร์เรย์แต้ละตัว.
เครื่องนักศึกษา  c:\appserv\www\ชื่อนักศึกษา\ชื่อไฟล์.php
การจัดเก็บข้อมูลภูมิปัญญา
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
เรื่อง การซ่อน - แสดงคอลัมน์ / แถว จัดทำโดย ด. ช. พงศ์วริศ ชาติชะนา ชั้น ม. 2/5 เลขที่ 37 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
การแปลงชนิดข้อมูลของตัวแปร
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การรับและแสดง ข้อมูล ง การเขียนไดนามิกเว็บ เพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
Cascading Style Sheet ง การเขียนเว็บไซต์ สไตล์ ป. พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยา คม.
คำสั่งเงื่อนไข ง การเขียนไดนามิก เว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การทำซ้ำด้วยคำสั่ง while
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การทำงานกับ เลขจำนวน ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การแสดงคำสั่ง HTML และตัวแปร ง ไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การใช้คำสั่ง เงื่อนไข การเขียนเว็บเพจโดยใช้ ภาษาสคริปต์ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
นิพจน์และตัวดำเนินการ
การทำซ้ำด้วย คำสั่ง for ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การกำหนดลักษณะตัวอักษร
การสร้างตาราง ง40205 การเขียนเว็บไซต์สไตล์ ป.พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
การรับข้อมูลในภาษา php
ตารางสอบ O-NET ชั้น ป.6 วัน-เดือน-ปี เวลาสอบ รหัสวิชา วิชาที่สอบ
การสร้างและใช้งานฟังก์ชั่น
เทคนิคการสืบค้น Google
BY NONGLAK WANSOM Saparachinee School Trang Thailand
การใช้งาน ฐานข้อมูล การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การใช้คำสั่งเงื่อนไข
วิธีการสืบค้นข้อมูล ด้วย Search engine และการเขียนบรรณานุกรม
PHP: [7] ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับ วัน/เวลา
จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี
การประชุมซักซ้อมการปฏิบัติงาน การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส. ก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
CHAPTER 6 Mathematical Functions and Date/Time Functions.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
บทที่ 5 Function. Function Function เป็นการแบ่งโค้ดโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อทำงานบางอย่าง - โค้ดโปรแกรมเรียงต่อกันยาว - สามารถเรียกใช้ Function ซ้ำได้
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
 ฐานข้อมูลวารสารวิชาการครอบคลุมเนื้อหา ทั้งในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์  ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตั้งแต่วารสารปีปัจจุบัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทำงานกับวัน/เวลา ในภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม

เวลาในภาษา PHP ใช้การนับจำนวนวินาทีนับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ 1970 (พ.ศ. 2513) เราเรียกเวลาอ้างอิงนี้ว่า Unix Epoch เช่น ถ้ามีค่า 3600 จะหมายถึงเวลาผ่านมา 1 ชั่วโมง

การจัดรูปแบบเวลาเพื่อแสดงผล ฟังก์ชันที่ใช้ คือ date(“format”); วิธีการใช้งานคือใส่ตัวอักษรเพื่อแสดง format ลงไป เช่น $day = date(“d”); จะได้ค่าเป็นหมายเลขวันในเดือนของวันปัจจุบัน

ตัวอักษรที่ใช้ในการจัดรูปแบบ คำอธิบาย ค่าที่เป็นไปได้ d เลขวันที่ เติม 0 นำหน้า 01 – 31 D ชื่อวันในสัปดาห์ 3 ตัวแรก Mon ถึง Sun j เลขวันที่ โดยไม่มี 0 นำหน้า 1 – 31 l ชื่อเต็มของวันในสัปดาห์ Sunday ถึง Saturday N เลขแสดงวันในสัปดาห์ ISO-8601 1 (วันจันทร์) ถึง 7 วันอาทิตย์

ตัวอักษรที่ใช้ในการจัดรูปแบบ คำอธิบาย ค่าที่เป็นไปได้ S Ordinal Suffix st, nd, rd, th w เลขแสดงวันในสัปดาห์ 0 (วันอาทิตย์) ถึง 6 (วันจันทร์) z หมายเลขวันของปีโดยเริ่มจาก 0 วันที่ 1 มกราคม 0 - 365 F ชื่อเต็มของเดือน January ถึง December m หมายเลขของเดือน โดยเติม 0 ข้างหน้า 01 ถึง 12

ตัวอักษรที่ใช้ในการจัดรูปแบบ คำอธิบาย ค่าที่เป็นไปได้ S Ordinal Suffix st, nd, rd, th w เลขแสดงวันในสัปดาห์ 0 (วันอาทิตย์) ถึง 6 (วันจันทร์) z หมายเลขวันของปีโดยเริ่มจาก 0 วันที่ 1 มกราคม 0 - 365 F ชื่อเต็มของเดือน January ถึง December m หมายเลขของเดือน โดยเติม 0 ข้างหน้า 01 ถึง 12

ตัวอักษรที่ใช้ในการจัดรูปแบบ คำอธิบาย ค่าที่เป็นไปได้ M ชื่อเดือน เฉพาะ 3 ตัวอักษรแรก Jan ถึง Dec n หมายเลขของเดือน โดยไม่มีศูนย์ข้างหน้า 1 กับ 12 t จำนวนวันของเดือนนั้น 28 - 31 L เป็นปีอธิกสุรทินหรือไม่ (เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วัน) หรือไม่ 1 ถ้าใช่, 0 ถ้าไม่ใช่ o เลขปี ค.ศ. 4 หลักตามมาตรฐาน ISO-8601 เช่น 1999 หรือ 2006

ตัวอักษรที่ใช้ในการจัดรูปแบบ คำอธิบาย ค่าที่เป็นไปได้ Y เลขปี ค.ศ. 4 หลัก เช่น 1999 หรือ 2006 y เลขปี ค.ศ. 2 หลัก เช่น 99 หรือ 06 a ตัวอักษรเล็กของ am หรือ pm am, pm A ตัวอักษรใหญ่ของ AM, PM AM, PM g เลขชั่วโมงแบบ 12 ชั่วโมง โดยไม่มี 0 ข้างหน้า 1 - 12

ตัวอักษรที่ใช้ในการจัดรูปแบบ คำอธิบาย ค่าที่เป็นไปได้ G เลขชั่วโมงแบบ 24 ชั่วโมง โดยไม่มี 0 ข้างหน้า 0 - 23 h เลขชั่วโมงแบบ 12 ชั่วโมง โดยมี 0 ข้างหน้า 01 - 12 H เลขชั่วโมงแบบ 24 ชั่วโมง โดยมี 0 ข้างหน้า 00 - 23 i เลขนาที โดยเติม 0 ข้างหน้าครบ 2 หลัก 00 – 59 s เลขวินาทีโดยเติม 0 ข้างหน้าให้ครบ 2 หลัก 00 - 59

ตัวอักษรที่ใช้ในการจัดรูปแบบ คำอธิบาย ค่าที่เป็นไปได้ e ชื่อเขตเวลา (Timezone Identifier) GMT, Asia/Bangkok O ความแตกต่างจากเวลากรีนิช (GMT) เช่น +0700 P มีเครื่องหมาย : คั่น เช่น +07:00 T เขตเวลาของเครื่อง EST,MDT,ICT Z ความแตกต่างจากเวลากรีนิชในหน่วยวินาที -43200 ถึง 43200

ตัวอักษรที่ใช้ในการจัดรูปแบบ คำอธิบาย ค่าที่เป็นไปได้ c รูปแบบวัน/เวลา ตามมาตรฐาน ISO-8601 2006-10-26T13:18:56+07:00 r รูปแบบวัน/เวลาตามมาตรฐาน RFC-2822 Thu,26 Oct 2006 13:18:56 +0700

ตัวอย่างการใช้ <?php $day = date("d"); printf("วันนี้วันที่ $day"); ?>

ตัวอย่างการใช้ <?php $day = date("D"); if ($day == 'Mon') printf("วันนี้วันจันทร์"); else if ($day == 'Tue') printf("วันนี้วันอังคาร"); ?>