คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 1 การตลาดในศตวรรษที่ 21 อ.ปั้น จูฑศฤงค์.
Advertisements

Product and Price Management.
School of Business Administration BANGKOK UNIVERSITY
School of Business Administration BANGKOK UNIVERSITY
รหัส หลักการตลาด.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
การบริหารความสัมพันธ์และการฟื้นฟูความพอใจ จากบริการที่ผิดพลาด
Priciples of Marketing
Lesson 2 Strategic Planning and The marketing Process &Market Segmentation,Targeting, and Positioning for Competitive Advantage.
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
หลักการตลาด บทที่ 13 การส่งเสริมการตลาด.
MK201 Principles of Marketing
MK201 Principles of Marketing
ระบบการบริหารการตลาด
MK201 Principles of Marketing
หลักการตลาด บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค.
การบริโภคอย่างอย่างสร้างสรรค์ รู้เท่าทัน และการใช้เวลาว่าง
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
บทที่ 6 พฤติกรรมผู้บริโภค.
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
เรียนรู้ลูกค้า – เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
บทที่ 4 กระบวนการตัดสินใจ
บทที่ 2 กระบวนการทางจิตวิทยาของผู้ใช้
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการวางแผน
บทที่ 5 การสื่อสารทางการตลาด โดยใช้สื่อการโฆษณา
ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Integrated Marketing Communication
(Organizational Behaviors)
Computer Application in Customer Relationship Management
ลักษณะและขอบเขตของการตลาด
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
บทที่ 17 อิทธิพลของสถานการณ์
บทที่ 1 บทนำ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
ลักษณะและขอบเขตของการตลาด
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทที่ 12 กระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการที่ บุคคลจัดองค์การความรู้อันทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในพฤติกรรมของเขา และจะสามารถนำใช้อีก.
บทที่ 3 การสื่อสารการตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 16 ครอบครัว.
บทที่ 4 ส่วนประสมการตลาด
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ทฤษฎีและเทคนิคการขาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ครูศรีวรรณ ปานสง่า วิธีการทาง เศรษฐศาสตร์ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
บทที่ 5 ข้อเสนอ การสร้างสรรค์ จังหวะเวลา และบริการที่มอบให้กับลูกค้า
SERVICE MARKETING พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
บทที่ 3 พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท e-mail: sasiprapa.c@ bu.ac.th MK 321 Consumer Behavior Introduction อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์ศศิประภา ชัยประสิทธิ์ ภาควิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท e-mail: sasiprapa.c@ bu.ac.th Call ; 0-2350-3500 ext. 1630,1640 A. Sasiprapa Chaiprasit

บทที่ 1 ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit บทที่ 1 ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค * การตลาดกับการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค - วิวัฒนาการของแนวความคิดด้านการตลาด กับการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค 1. แนวความคิดด้านการผลิต ( Production Concept) 2. แนวความคิดด้านผลิตภัณฑ์ (The Product Concept) 3. แนวความคิดด้านการขาย (The Selling Concept or Sales Concept) 4. แนวความคิดด้านการตลาด (The Marketing Concept) 5. แนวความคิดด้านการตลาดเพื่อสังคม (The Social Marketing Concept)

ความหมายของพฤติกรรมผู้บริโภค MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit ความหมายของพฤติกรรมผู้บริโภค “ การศึกษากระบวนการที่เกี่ยวกับ การเลือก การซื้อ การใช้ การประเมินผล การทิ้ง หรือกำจัดผลิตภัณฑ์ เพื่อความพอใจ ที่เกิดจากการได้สนองตอบความจำเป็นหรือความต้องการ ของผู้บริโภค ”

เราศึกษาอะไรผู้บริโภค ? MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit เราศึกษาอะไรผู้บริโภค ? 6 Ws และ 1 H 1. Who is in the target market? 2. What does the consumer buy? 3. Why does the consumer buy? 4. Who participate in the buying? 5. When does the consumer buy? 6. Where does the consumer buy? 7. How does the consumer buy?

1. ผู้ริเริ่ม (Initiator) 2. ผู้มีอิทธิพล (Influencer) MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit บทบาทในการเป็นผู้บริโภคที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจซื้อ 1. ผู้ริเริ่ม (Initiator) 2. ผู้มีอิทธิพล (Influencer) 3. ผู้ตัดสินใจ ( Decider) 4. ผู้ซื้อ ( Buyer) 5. ผู้ใช้ ( User)

ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย “ ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มผู้บริโภคที่มีความคล้ายคลึงกัน ด้านใดด้านหนึ่ง เช่น ความต้องการ และเมื่อใช้กลยุทธ์ทางการตลาด ด้วยแล้ว จะต้องตอบสนองต่อกลยุทธ์ดังกล่าวไปในทิศทางเดียวกัน ”

องค์ประกอบพื้นฐานของผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit องค์ประกอบพื้นฐานของผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย 1. มีความจำเป็น (Needs) หรือ มีความต้องการ (Wants) 2. มีอำนาจซื้อ (Purchasing Power) 3. มีพฤติกรรมการซื้อ (Purchasing Behavior) 4. มีพฤติกรรมการบริโภค (Consumption Behavior)

การศึกษาและทำความเข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit การศึกษาและทำความเข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค 1. แบบจำลองพฤติกรรมผู้บริโภค 2. การวิจัยผู้บริโภค 3. หลักพฤติกรรมศาสตร์

1. แบบจำลองพฤติกรรมผู้บริโภค MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit 1. แบบจำลองพฤติกรรมผู้บริโภค 1.1 ตัวแบบกล่องดำ (Black box model) กระบวนการทางความคิดที่มองไม่เห็น สิ่งกระตุ้นภายนอก * สิ่งกระตุ้นทางการตลาด * สิ่งกระตุ้นอื่นๆ กล่องดำหรือ ความรู้สึกนึกคิด การตอบสนองของผู้ซื้อ การลงความเห็น

1.2 พฤติกรรมผู้บริโภคตามทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit 1.2 พฤติกรรมผู้บริโภคตามทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ เหตุผลในการเลือกสินค้าหรือบริการของผู้บริโภค 1. ผู้บริโภคจะเลือกสินค้าที่มีสัดส่วนของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม ที่ได้รับต่อราคาสินค้า ( Marginal Utility / Price) ที่สูงกว่าเสมอ 2. ผู้บริโภคเมื่อได้รับผลิตภัณฑ์ใดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แล้ว ก็จะมีความ พึงพอใจต่อสินค้านั้นลดลง 3. ความต้องการรวมของผลิตภัณฑ์หนึ่งๆ (Aggregate Demand) เป็นผลรวมของความต้องการของผู้บริโภคแต่ละราย

4. ผู้บริโภคจะจัดสรรรายได้ของตนเพื่อการใช้จ่าย การออม ที่เป็นสัดส่วน MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit 4. ผู้บริโภคจะจัดสรรรายได้ของตนเพื่อการใช้จ่าย การออม ที่เป็นสัดส่วน คงที่ แต่สัดส่วนจะเปลี่ยนไปเมื่อมีรายได้เปลี่ยนแปลงไประดับหนึ่ง 5. ความเชื่อมั่น ความคาดหวังรายได้ในอนาคต มีผลต่อการตัดสินใจด้าน การใช้จ่ายของผู้บริโภคด้วย

1.3 ตัวแบบของเอนเกิล-คอลลาร์ท-แบล็คเวล ( Engle-Kollat-Blackwell) MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit 1.3 ตัวแบบของเอนเกิล-คอลลาร์ท-แบล็คเวล ( Engle-Kollat-Blackwell) 1. การรับรู้ปัญหา หรือตระหนักปัญหา (Needs Recognition) 2. การหาข้อมูล (Search) 3. การประเมินทางเลือก (Alternative Evaluation) 4. การซื้อ (Purchase) 5. หลังการซื้อ (Outgoings)

1.4 ตัวแบบของวอลเตอร์ อิทธิพลทางสังคม อิทธิพลของครอบครัว ความจำเป็น MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit 1.4 ตัวแบบของวอลเตอร์ อิทธิพลทางสังคม อิทธิพลของครอบครัว ความจำเป็น แรงจูงใจ ทัศนคติ การตัดสินใจของ ผู้บริโภค การรับรู้ การเรียนรู้ ผู้บริโภค อิทธิพลด้านธุรกิจ อิทธิพลด้านรายได้ อิทธิพลของวัฒนธรรม

1.5 ตัวแบบพฤติกรรมผู้ซื้อของ ฟิลิป คอร์ทเลอร์ MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit 1.5 ตัวแบบพฤติกรรมผู้ซื้อของ ฟิลิป คอร์ทเลอร์ (Philip Kotler’s Model of Buying Behavior) สิ่งกระตุ้นจากภายนอก * ทางการตลาด * สิ่งแวดล้อม กล่องดำของผู้ซื้อ การตัดสินใจซื้อ * เลือกสินค้า * เลือกตรา * เลือกร้านค้า * เวลา จำนวน 1. กระบวนการตัดสินใจ 2. ลักษณะของผู้ซื้อ : * ทางวัฒนธรรม * ทางสังคม * บุคคล * ทางจิตวิทยา

1.6 ตัวแบบของโฮวาร์ดเซท (Howard Sheth Model) MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit 1.6 ตัวแบบของโฮวาร์ดเซท (Howard Sheth Model) ความแตกต่างของการตัดสินใจของผู้บริโภค 3 ระดับ * Extensive Problem Solving * Limited Problem Solving * Routinized Response Behavior

ปัจจัยภายใน (ปัจจัยจิตวิทยา) ที่มีอิทธิพล MK 321 Consumer Behavior A. Sasiprapa Chaiprasit 2. การวิจัยผู้บริโภค 3. หลักพฤติกรรมศาสตร์กับพฤติกรรมผู้บริโภค การตัดสินใจของผู้บริโภค ปัจจัยภายใน (ปัจจัยจิตวิทยา) ที่มีอิทธิพล ปัจจัยภายนอก (ปัจจัยสังคมมนุษยวิทยา) ที่มีอิทธิพล