กฤษ เฉยไสย วิชัย ประเสริฐเจริญสุข อังคณา เจริญมี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
ชื่อโครงงาน : การอนุรักษ์พลังงานของระบบควบคุมแรงดันน้ำ Inside Outside
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ผลกระทบของแรงดันอินพุตออฟเซ็ตต่อวงจรขยาย
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
Object Location Tracking System (OLTS)
นายรังสฤษดิ์ตั้งคณารหัส นายวสันต์ชานุชิตรหัส
เครื่องพันขดลวด Coil Wiering Machine EE โดย นายวรวิทย์ เหล่าพิเชฐกุล นายมาโนชย์ ทองขาว อาจารย์ที่ปรึกษา.
Low-speed UAV Flight Control Phase II
Guitar tuner นำเสนอโดย นาย สันติ พรหมดวงศรี รหัส
จัดทำโดย นายวิทยา หาญอาษา และ นายธวัช มุดไธสง อาจารย์ที่ปรึกษา
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
ENCODER.
Ultrasonic sensor.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
DS30M DUAL FEED GUN.
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
CHAPTER 11 Two-port Networks
CHAPTER 10 AC Power Analysis
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
กฤษ เฉยไสย ธวัตชัย สิ้นภัย ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
P1 การศึกษาการใช้อินเวอร์เตอร์เพื่อประหยัดพลังงานไฟฟ้าและควบคุมแรงดันน้ำ ในงานประปาและสุขาภิบาลกองอาคารและสถานที่ สำนักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น.
การหาค่าพารามิเตอร์เพื่อจำลองการทำงานของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
Stepper motor.
DC motor.
RC servo motor Voltage Weight Size Output Torque Operating Speed
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วย วงจรกรองแบบช่องบาก รูปที่ 5.1 โครงสร้างของระบบที่ใช้วงจรกรองแบบช่องบาก (5-1) (5-10) (5- 11)
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
Electronic Circuits Design
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
กราฟเบื้องต้น.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฤษ เฉยไสย วิชัย ประเสริฐเจริญสุข อังคณา เจริญมี เทคนิคการตรวจจับความเร็วของอินดักชั่นมอเตอร์โดยใช้ค่าอิมพีแดนซ์ของโรเตอร์ Speed Sensorless technique of Induction Motor Control Using Rotor Impedance กฤษ เฉยไสย วิชัย ประเสริฐเจริญสุข อังคณา เจริญมี ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

บทคัดย่อ ในบทความนี้ได้พัฒนา เทคนิคการตรวจับความเร็วของมอเตอร์เหนี่ยวนำโดยใช้ค่าอิมพีแดนซ์ของโรเตอร์ หลักการในการตรวจจับความเร็วคือ ป้อนแรงดันความถี่สูงให้กับมอเตอร์ แล้ววัดค่ากระแสความถี่สูง มาเพื่อคำนวณหาค่าอิมพีแดนซ์ โดยที่ค่าอิมพีแดนซ์ที่วัดได้จะขึ้นอยู่กับตำแหน่งของโรเตอร์ ซึ่งที่ผิวของโรเตอร์ติดแผ่นอลูมิเนียมบางๆไว้ เพื่อทำให้ค่าอิมพีแดนซ์เปลี่ยนไปตามตำแหน่ง(มุม)ของโรเตอร์ ในขณะที่โรเตอร์หมุนอิมพีแดนซ์เปลี่ยนแปลงตามการหมุนของโรเตอร์ ซึ่งจะมีผลต่อการไหลของกระแสสเตเตอร์ ผลการทดสอบกับมอเตอร์ 2 แรงม้า เมื่อนำค่ากระแสสเตเตอร์ มาผ่านวงจรกรองความถี่ต่ำ ทำให้ทราบความเร็วของโรเตอร์ ตั้งแต่มอเตอร์เริ่มหมุนจนถึงช่วงความเร็วสูงสุดได้ คำสำคัญ : อินดักชั่นมอเตอร์, ตัวตรวจวัดความเร็ว, วงจรกรองความถี่ต่ำ

รูปที่ 1 แสดงหลักการควบคุมอินดักชั่นมอเตอร์ 1. บทนำ รูปที่ 1 แสดงหลักการควบคุมอินดักชั่นมอเตอร์

รูปที่ 2 การนำแผ่นอลูมิเนียมบางติดที่แกนโรเตอร์ 2. หลักการ รูปที่ 2 การนำแผ่นอลูมิเนียมบางติดที่แกนโรเตอร์

รูปที่ 3 (a) การป้อนสนามแม่เหล็กความถี่สูงให้กับอินดักชั่นมอเตอร์ขนาด 2 poles (b) ขณะที่โรเตอร์จะหมุนทำให้สนามแม่เหล็ก( )เปลี่ยนแปลงตามการหมุนของโรเตอร์ (c) รูปคลื่นของกระแสสเตเตอร์ (irms)

รูปที่ 4 การใช้ LCR meter วัดค่า อิมพีแดนซ์ ของมอเตอร์

การติดแผ่นอลูมิเนียมใส่แกนโรเตอร์ 3. ผลของขนาดของการติดแผ่นอลูมิเนียมที่มีต่อ Impedance ตารางที่ 1 แสดงขนาดของแผ่นอลูมิเนียม การติดแผ่นอลูมิเนียมใส่แกนโรเตอร์ ติด 1/2 รอบ ติด 1/3 รอบ ติด 1/4 รอบ ติด 1/6 รอบ ติด 1/9 รอบ

รูปที่ 5 การพันแผ่นอลูมิเนียมติดกับแกนโรเตอร์

รูปที่ 6 ค่าอิมพีแดนซ์ ที่วัดขั้ว U-N เมื่อติดแผ่นอลูมิเนียมใส่แกนโรเตอร์ ตามขนาดทั้ง 6 ค่า

รูปที่ 7 วงจรที่ใช้ทดลอง 4. การทดลอง 4.1 วงจรที่ใช้ทดลอง รูปที่ 7 วงจรที่ใช้ทดลอง

= 50 Hz Passband gain(Ho) = (1+R4/R3)(1+R4/R3) = 2 รูปที่ 8 วงจร Low pass Filter ที่ใช้ในการทดลอง Corner frequency (fc) =

กระแสไหลผ่าน R มีค่า 39.25 mArms 4.2 ผลการทดลอง 4.2.1 ผลของกระแส เมื่อมุมเปลี่ยนและแรงดันอินพุทเป็นรูปคลื่น sine wave กระแสไหลผ่าน R มีค่า 39.25 mArms รูปที่ 9 รูปสัญญาณขนาดของกระแสขณะมอเตอร์อยู่ที่มุม 45 องศา

กระแสไหลผ่าน R มีค่า 36.99 mArms รูปที่ 10 รูปสัญญาณขนาดของกระแสขณะมอเตอร์อยู่ที่มุม 135 องศา

T กระแสไหลผ่าน R มีค่า 40 mArms กระแสที่ผ่านวงจร LPFมีค่า 59.78 mArms รูปที่ 11 สัญญาณกระแสขณะที่มอเตอร์หมุนด้วยความเร็วรอบ 625 rpm

กระแสที่ผ่านวงจร LPF มีค่า 20.15 mArms กระแสไหลผ่าน R มีค่า 39.88 mArms T รูปที่ 12 สัญญาณกระแสที่ขณะที่มอเตอร์หมุนด้วยความเร็ว1500 rpm

ในรูปที่ 11 กระแสที่ผ่านวงจร LPF มีค่า 59 ในรูปที่ 11 กระแสที่ผ่านวงจร LPF มีค่า 59.78 mArms คาบเวลา T = 48 mSec หาความเร็วรอบได้จาก r = 1/(24810-3) = 10.416 รอบต่อวินาที คิดเป็น 625 รอบต่อนาที รูปที่ 12 กระแสที่ผ่านวงจร LPF มีค่า 20.15 mArms คาบเวลา T = 20 mSec หาความเร็วรอบได้จาก r = 1/(22010-3) = 25 รอบต่อวินาที คิดเป็น 1500 รอบต่อนาที

4.2.2 ผลของกระแส เมื่อมุมเปลี่ยนและแรงดันอินพุทเป็น รูปคลื่น square wave กระแสไหลผ่าน R มีค่า 46.25 mArms รูปที่ 13 รูปสัญญาณขนาดของกระแสขณะมอเตอร์อยู่ที่มุม 45 องศา

กระแสไหลผ่าน R มีค่า 44.27 mArms รูปที่ 14 รูปสัญญาณขนาดของกระแสขณะมอเตอร์อยู่ที่มุม 135 องศา

กระแสไหลผ่าน R มีค่า 46.04 mArms กระแสที่ผ่านวงจร LPF มีค่า 68.64 mArms T รูปที่ 15 กระแสที่วัดได้ขณะที่มอเตอร์หมุนด้วยความเร็วรอบ 600 rpm

กระแสไหลผ่าน R มีค่า 49.24 mArms กระแสที่ผ่านวงจร LPF มีค่า 17.69 mArms T รูปที่ 16 กระแสที่วัดได้ขณะที่มอเตอร์หมุนด้วยความเร็วรอบ 1500 rpm

รูปที่ 15 กระแสที่ผ่านวงจร LPF มีค่า 68 รูปที่ 15 กระแสที่ผ่านวงจร LPF มีค่า 68.64 mArms คาบเวลา T = 50 mSec หาความเร็วรอบได้จาก r = 1/(25010-3) = 10 รอบต่อวินาที คิดเป็น 600 รอบต่อนาที รูปที่ 16 กระแสที่ผ่านวงจร LPF มีค่า 17.69 mArms คาบเวลา T = 20 mSec หาความเร็วรอบได้จาก r = 1/(22010-3) = 25 รอบต่อวินาที คิดเป็น 1500 รอบต่อนาที

5. สรุป เมื่อป้อนแรงดันความถี่สูงให้กับมอเตอร์ที่ติดแผ่นอลูมิเนียม ขนาด 1/3 รอบของแกนโรเตอร์ แล้ววัดค่ากระแสความถี่สูง เพื่อคำนวณหาค่าอิมพีแดนซ์ ในขณะที่โรเตอร์หมุนอิมพีแดนซ์เปลี่ยนแปลงตามการหมุนของโรเตอร์ ซึ่งจะมีผลต่อการไหลของกระแสสเตเตอร์ ผลการทดสอบกับมอเตอร์ 2 แรงม้า เมื่อป้อนความถี่สูงรูป sine wave และ square waveให้กับมอเตอร์ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอิมพีแดนซ์ที่ใกล้เคียงกัน จากนั้นนำสัญญาณที่ออกจากมอเตอร์มาผ่านวงจรกรองความถี่ต่ำ จะทำให้ทราบความเร็วของโรเตอร์ ตั้งแต่มอเตอร์เริ่มหมุนจนถึงช่วงความเร็วสูงสุดได้

เอกสารอ้างอิง [1] H. Kubota, K. Matsuse, “Speed sensorless field oriented control of induction machines using flux observer” IEEE, 1994. Pages:1611 - 1615 vol.3 [2] W. Huangang, Z. Xiaoping, X. Wenli, and Y. Geng, “The speed-sensorless control of induction motors at zero frequency” ICEMS, 2001. Pages:1195 - 1198 vol.2 [3] V.-M. Leppanen, J. Luomi, “Speed sensorless induction machine control for zero speed and frequency,” IEEE, 2002. Pages:400 - 405 vol.1

ขอจบการนำเสนอเพียงเท่านี้ ขอบคุณทุกท่าน