ความรู้และ การจัดการความรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management (KM)
Advertisements

ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
( Crowdsourcing Health Information System Development )
ประเภทของระบบสารสนเทศ
KM = Knowledge Management
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
เทคนิคการเป็นวิทยากรอบรมเข้มเสริมประสบการณ์วิชาชีพสาขาวิทยาการจัดการ
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การประเมินองค์กรแบบสมดุล (The Balance Scorecard by Kaplan & Norton)
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
Electronic Office (e-Model) and Knowledge Management
Knowledge Management (KM)
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ในอดีตการเข้าถึงแหล่งข้อมูล ข่าวสาร และการใช้น่าจะเป็นเรื่องที่ ยาก หรืออาจจะไม่จำเป็นต้องเข้าถึง เลย เพราะวิถีชีวิตเป็นเรื่องง่าย ๆ และ เป็นประจำ จนถึงยุคที่การทำงานเป็น.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การศึกษาการจัดการความรู้ของบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ จำกัด (มหาชน)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
System Integration.
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
อาจารย์ ดร.ฐิติพร ชมภูคำ กรรมการและเลขานุการหลักสูตร MBA
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
ฐานข้อมูล Data Base.
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
จัดทำโดย ด. ช. ต่อสักดิ์ ถาน้อย ม.1/4 เลขที่ 9 ด. ญ. ศิวัชญา ศรีทองวัน ม.1/4 เลขที่ 8 ส่ง อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้และ การจัดการความรู้ ยืน ภู่วรวรรณ รองอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ yuen@ku.ac.th

หัวข้อที่จะบรรยาย ความรู้ และสารสนเทศคืออะไร IM และ KM ต่างกันอย่างไร กระบวนการจัดการความรู้ให้กับองค์กร ตัวอย่างการสร้างองค์กรเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

ทุกคนต้องเข้าใจอนาคต “เรากำลังเริ่มที่จะเข้าไป เมื่ออนาคตกำลังไล่ล่าคุณ ทุกคนต้องเข้าใจอนาคต “เรากำลังเริ่มที่จะเข้าไป ควบคุมวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย บนดาวเคราะห์ดวงนี้ โดยตรงและอย่างจงใจ รวมทั้งควบคุมตัวเราเองด้วย ” Juan Enriquez

ประเทศที่มีความทรัพยากรมากมาย ไนจีเรีย มีน้ำมัน อินโดนีเซีย มีป่าไม้ แอฟริกาใต้ มีเพชร และ ทองคำ บราซิล มี ป่า และ แร่ธาตุ อาร์เจนตินา มี ดินอุดมสมบูรณ์ คองโก มี แร่ธาตุ อัญมณี เม็กซิโก มี น้ำมัน เงิน โคลัมเบีย มี มรกต ซาอุ มี น้ำมัน

“ทุกวันนี้ประเทศเหล่านี้จนลงมากกว่าเมื่อยี่สิบปีที่แล้ว” WHY??? ทำไม ? “ทุกวันนี้ประเทศเหล่านี้จนลงมากกว่าเมื่อยี่สิบปีที่แล้ว” WHY??? อักษรครองโลก ไม่ใช่ 26 ตัว แต่เป็นสองตัวคือ 0 กับ 1

สังคมกำลังก้าวสู่สังคมใหม่ที่ใช้ภูมิปัญญา

นิยามพื้นฐานทั่วไป ข้อมูล (Data) สารสนเทศ (Information) ความรู้ (Knowledge)

พื้นฐานชนิดของความรู้ Tacit knowledge ความรู้ที่มีรูปแบบที่ไม่แน่นอน ไม่มีกฎเกณฑ์ที่ชัดเจน Explicit knowledge ความรู้ที่มีรูปแบบชัดเจน กฎเกณฑ์แน่นอนและชัดเจน

ง่ายต่อการจัดเก็บในรูปเอกสาร ธรรมชาติของความรู้ Explicit ง่ายต่อการจัดเก็บในรูปเอกสาร และแบ่งกันใช้งาน แจกจ่ายใช้งานง่าย มีประสิทธิภาพ ง่ายต่อการสำเนา 20% ทำให้มีอำนาจเพื่อการแข่งขันได้ดี 80% Tacit ยากต่อการประติดประต่อ ยากต่อการถูกขโมย มีประโยชน์ใน การแข่งขันสูง ยากต่อการถ่านทอด

มิติของความรู้ Tacit knowledge ความรู้ที่มีรูปแบบที่ไม่แน่นอน ไม่มีกฎเกณฑ์ที่ชัดเจน Explicit knowledge ความรู้ที่มีรูปแบบชัดเจน กฎเกณฑ์แน่นอนและชัดเจน ความรู้ส่วนบุคคล (Personal knowledge) ความรู้องค์กร (Organizational knowledge)

การแบ่งชนิดของความรู้ออกเป็นสี่ชนิด ความรู้ที่อยู่ในคน know what ,know how , know why, know who, care why ขึ้นกับพื้นฐานการศึกษา ความเชื่อ ทัศนคติ ความรู้ด้านเทคโนโลยี กระบวนการผลิต เครื่องจักร เครื่องมือ ความรู้ด้านจัดการ ความรู้ที่อยู่คู่กับองค์กร

ความรู้ส่วนองค์กรสำคัญมากขนาดไหน? ความรู้ฝังตัวอยู่ใน processes, products, systems, and controls จึงอยู่กับองค์กรได้ การเรียกใช้ความรู้จากแหล่งความรู้สามารถเรียกเข้าหาได้ทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร สารพัดประโยชน์จากการใช้ความรู้ การถ่ายทอดความรู้ทำได้หลากหลายรูปแบบ formally, training, หรือแบบ informally, โดยวางวิธีการสร้างกิจกรรมทางสังคม มีความจำเป็นที่จะก้าวสู่การแข่งขันในระดับสากล! Organizational Knowledge: Why Is It Important? Because it makes money. And that is why it is important to have the knowledge process facilitated by a steady development of a knowledge culture, based on incentives, strong management leadership, that values, shares, and uses knowledge.

ปัญหาการจัดการความรู้ในองค์กร การถ่ายทอดความรู้ระหว่างบุคคลและจากภายนอกองค์กร การจัดเก็บความรู้ขององค์กร การนำความรู้มาสร้างความสามารถ ในการแข่งขันหรือก่อให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง การสร้างความรู้ใหม่

SECI Model ของ Nonaka & Takeuchi การถ่ายทอดความรู้ To Tacit Explicit Socialization Externalization Internalization Combination From SECI Model ของ Nonaka & Takeuchi

การก้าวเข้าสู่สังคมภูมิปัญญา และความรอบรู้ การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Enterprise) การสร้างคุณค่าจากภูมิปัญญาและความรอบรู้ การเปลี่ยนสินทรัพย์ทางปัญญาให้เป็นทุน การจัดการความรอบรู้และภูมิปัญญา การเปลี่ยนรูปแบบการทำงานเป็นแบบ Knowledge Worker

การจัดการสารสนเทศ VS. การจัดการความรู้ เมื่อ สารสนเทศ ต่างจาก ความรู้ ดังนั้น การจัดการสารสนเทศ จึงต่างจาก การจัดการความรู้ ด้วย การจัดการสารสนเทศ (Information Management) การจัดการความรู้ (Knowledge Management) เมื่อ การนิยามความรู้ของแต่ละคนแต่ละองค์กรแตกต่างกัน ดังนั้น ความหมายของการจัดการความรู้ก็แตกต่างกันด้วย (Nonaka & Takeuchi, 1995)

ทำไมต้องมีการจัดการความรู้ สารสนเทศล้น มีสารสนเทศมากที่จะสร้างเป็นความรู้ องค์ความรู้มีมากมาย เกิดใหม่ และสะสม เพื่อประสิทธิภาพขององค์กร เพื่อการแข่งขันที่รุนแรงและความอยู่รอด ความรู้คือทรัพย์ (Knowledge is asset) มีวิชาเหมือนมีทรัพย์อยู่นับแสน ความรู้เป็นแหล่งกำเนิดของนวัตกรรม นโยบายเปลี่ยนสินทรัพย์ให้เป็นทุนของรัฐบาล

การจัดการความรู้คืออะไร การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการสร้างความรู้ จัดเก็บ รวบรวม ขนส่ง ถ่ายทอด และใช้ความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร การจัดการความรู้ เกี่ยวโยงกับกิจกรรมที่สำคัญสองอย่างคือ การพยายามที่จะทำให้ความรู้อยู่ในรูปเอกสาร ข้อความ สิ่งพิมพ์ หรือถ่ายทอดความรู้ออกมาในรูปที่เก็บรักษาได้และอยู่คู่กับองค์กร กิจกรรมที่ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างบุคลากรหรือใช้ความรู้ร่วมกัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์เรียนรู้ระหว่างกัน

หลักการพื้นฐานของการจัดการความรู้ ความสามารถเฉพาะ การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกันต้องการ ความเชื่อถือระหว่างความรู้เกิดขึ้นอยู่ภายในจิตใจบุคคลเป็นประสบการณ์ กัน การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ จะต้องได้รับการกระตุ้นและมีสิ่งตอบแทน การจัดการความรู้ต้องได้รับการดูแลโดยฝ่ายบริหาร และจัดการ ความรู้คือสิ่งที่สร้างสมที่เกิดขึ้นในองค์กร และถูกสร้างขึ้นโดยมีรูปแบบที่ไม่แน่นอน เทคโนโลยีช่วยจัดการความรู้ได้ดี

ความจริงที่น่าสนใจสำหรับองค์กร เราต้องวางแผนการฝึกบุคลากรให้ดี ต้องทำเอกสารที่ตนเองรู้เอาไว้ เมื่อต้องการใช้จะได้มีเอกสารใช้ เราจะต้องมีนโยบายเพื่อทำให้องค์กรเราเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ไม่มีปัญหาในการใช้องค์ความรู้ เสมือนมีที่ปรึกษาที่ดี เราอาจต้องใช้จ่ายสำหรับเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสารที่ดีกว่า

ความจริงที่เป็นจริงที่ควรรู้ เราต้องทลายขอบเขตของถังไซโล เราต้องสร้างการทำงานให้มีนวัตกรรมใหม่ และทำงานร่วมกัน เรียนรู้ร่วมกัน เราต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการคิดใหม่ ทำใหม่ เราต้องรู้วิธีการติดต่อประสานงานระหว่างบุคคล สังคม เราต้องให้ความสำคัญเรื่องการเรียนรู้ และต้องสร้างนวัตกรรมใหม่ การทำงานร่วมกันในแนวราบ มีความสำคัญยิ่ง

การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) ความมั่งคั่งสมบูรณ์ขององค์กร คือความรู้ ไม่ใช่เงิน ความรู้เป็นสินทรัพย์ที่สำคัญยิ่งขององค์กร กุญแจแห่งความสำเร็จคือ การสร้าง innovation economy ทำนวัตกรรมให้เป็นเงิน

เศรษฐกิจความรอบรู้ (Knowledge Economy) จากหลายช่วงศตวรรษที่ผ่านมา พิสูจน์ให้เห็นว่า ทรัพยากรทางสมอง (brain power) มีบทบาทสำคัญยิ่งกว่าพลังงานเครื่องจักร ในยุคปัจจุบันจึงให้ความสำคัญสู่การสร้างระบบเศรษฐกิจความรู้

ลักษณะสำคัญของเศรษฐกิจความรู้ การผลิตและการบริการเป็นกลไกคู่สร้างการเจริญเติบโต การสร้างความแข็งแกร่งด้วยภูมิปัญญา ทุนที่สำคัญอยู่ที่ความรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทรัพยากรบุคคลและทุนปัญญาเป็นสิ่งสำคัญในยุคการแข่งขัน

เศรษฐกิจความรู้เกี่ยวโยงกับสามเสาหลัก บทบาทความรู้ที่ได้จากรายการย่อย เช่น ระบบสารสนเทศ ที่ทำให้รู้ว่าขายได้เท่าไหร่ ขายอะไร ซื้ออะไร วัตถุดิบเป็นอย่างไร ขณะเดียวกัน ความรู้ก็เป็นสินทรัพย์ ที่แปลค่าเป็นทุน เป็นมูลค่าเพิ่มได้ การจัดการความรู้ให้เกิดประโยชน์กับองค์กร

อินเทอร์เน็ตทำให้เกิดองค์กรในฝัน ลูกค้า ขีดความสามารถ เชิงความรอบรู้ การเข้าถึงเนื้อหา สาระความรู้ เน้นเข้าหาลูกค้า บุคลากร กระบวนการ ความว่องไว รวดเร็ว ไดนามิกส์ และสร้างกิจกรรม ร่วมกันระหว่างองค์กร

องค์กรกับเศรษฐกิจความรู้เพื่อการแข่งขัน การแข่งขันขององค์กรขึ้นอยู่กับการสร้างสินค้าและบริการให้มีความแตกต่าง และสั่งสมให้เกิดทุนปัญญาที่มีคุณค่าซึ่งทำให้คู่แข่งยากที่จะแข่งขันได้ ในระบบเศรษฐกิจใหม่ อำนาจการแข่งขันอยู่ที่ภูมิปัญญามิได้อยู่ที่การเงิน หรือรูปแบบดังอดีต

อำนาจการแข่งขันที่ยั่งยืน ตัวแปรทุกตัวสามารถเอาออกจากสมการของการแข่งขันได้ ยกเว้นความรู้และภูมิปัญญาเป็นตัวแปรที่สำคัญเพื่อการแข่งขันที่ยั่งยืน องค์กรทุกองค์กรต้องตระหนักว่าสินทรัพย์หลักความรู้ ที่จะแปรเปลี่ยนมาเป็นสินค้าและบริการที่มีอำนาจเพื่อการแข่งขัน

ทุนปัญญา (intellectual capital)

การดำเนินการจะไม่สำเร็จถ้าวงรอบไม่สมบูรณ์ กระบวนการการจัดการความรู้ Use Create Collect Adapt Review Identify Share การดำเนินการจะไม่สำเร็จถ้าวงรอบไม่สมบูรณ์

กระบวนการจัดการความรู้ Knowledge Identification Knowledge Acquisition Knowledge Utilization /Reuse Knowledge Development Knowledge Integration Knowledge Transfer Knowledge Storage

การส่งเสริมให้เกิด KM ในองค์กร กำหนดท่าทีและการตั้งคำถาม (less tool-based) ทำในหลายระดับ (strategic, tactical, operational) การบรรยายและสนทนาบ่อยๆ (less technical) การพัฒนาและประยุกต์ใช้อย่างจริงจัง จุดประกายและสร้างความคิดใหม่ให้เกิดขึ้น ใช้ ICT เข้าช่วย

การพัฒนา KM ในองค์กร ส่งเสริมให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยไม่ต้องเน้นว่าจะต้องได้ผลิตภัณฑ์ ทำให้ยาวนาน ลุ่มลึก และกว้างขวาง ติดดิน ทำในทุกระดับ

การสร้างองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ สร้างกระบวนการด้วยไอที E-learning และ KM มีเส้นทางเข้าหากัน สิ่งต่อไปที่ยิ่งใหญ่: ใช้ KM เป็นพลังขับเคลื่อน ให้เกิดนวัตกรรมใหม่

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการความรู้ (1) Communication technologies ทำให้เราเข้าถึงความรู้ได้ง่าย เร็ว และสื่อสารระหว่างบุคคลหรือผู้เชี่ยวชาญได้ง่าย Collaboration technologies ช่วยเป็นตัวกลางในการทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นทีม Storage technologies ใช้ในการจัดเก็บ รวบรวม และจัดการความรู้

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการความรู้ (2) Groupware กับการทำงานแบบทีม Intranet กับการแลกเปลี่ยนความรู้ในองค์กร Internet กับการสร้างและเสาะแสวงหาความรู้จากภายนอก News group และ Discussion group กับการแบ่งปันความรู้ Knowledge Map กับการแสวงหาความรู้และผู้เชี่ยวชาญ

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการความรู้ (3) Search Engine Full text search OLAP and Data mining Multimedia Technology and Content Analysis, Distribution Knowledge Expert System

การสร้างฐานความรู้สารานุกรม ด้วยการเชื่อมโยง Knowledge Object

การประยุกต์ KM ในองค์กร ส่งเสริมให้คิดและเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการทั้งการเรียนรู้ จากการทำงานและสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัว (Learning organization)

การทำให้องค์กรเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ความต้องการในเรื่องฝึกอบรมพื้นฐาน การดำเนินการให้เข้าถึงแก่นของการเรียนรู้เพื่อสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ ดำเนินการก้าวสู่ KM Training Organizational Learning Knowledge Management

การทำองค์กรให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 การทำองค์กรให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ทำให้เรื่องการฝึกอบรมพื้นฐาน สร้างค่ายกิจกรรม Custom-developed เพื่อการเรียนรู้เฉพาะบุคคล Customized การฝึกอบรม ปฐมนิเทศ Coaching สำหรับบุคลากรใหม่

การทำองค์กรให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ ขั้นที่ 2 การทำองค์กรให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ ขั้นที่ 2 ดำเนินการให้เข้าถึงแก่นของการเรียนรู้เพื่อสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ สร้างประสบการให้บุคลากรในองค์กร การประชุมของฝ่ายบริหาร ‘lessons learned’ สร้างวิธีการเรียนรู้ให้ทันใจ (Virtual Boot Camp) สร้างเอกสาร คู่มือต่างๆ (สร้างเว็บเก็บข้อมูล ให้เข้าถึงง่าย, สร้างเอกสารประเภท‘Quick Reference’ ) การพัฒนาผู้ฝึกสอน ผู้ให้คำแนะนำภายใน ทบทวน ตรวจทาน กระบวนการภายใน การเป็นพี่เลี้ยง

การทำองค์กรให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ ขั้นที่ 3 การทำองค์กรให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ ขั้นที่ 3 ดำเนินการสู่ KM ประเมินองค์กรและวางแผนการ สร้างทีมและสังคมการทำงานร่วมกัน ใช้ collaborative software ให้รูปแบบการทำงานแบบร่วมกัน จัดการความรู้ให้เป็นระบบ ในรูปเอกสาร ข้อมูล ใช้ ICT ช่วย

ก้าวสู่การออนไลน์และการเข้าถึงขุมความรู้ การจัดการความรู้ในองค์กรและ ผลจากอินเทอร์เน็ต ก้าวสู่การออนไลน์และการเข้าถึงขุมความรู้ 1969 ArpaNet 1990 Internet-Hypertex 1992 Browser 1995 Portals 1999 Storefronts การเชื่อมโยง การนำเสนอ สื่อสารสองทาง การออนไลน์ ผลกระทบ เวลา

ขุมความรู้ แนวคิดการเก็บรวบรวม ผู้ใช้บริการ จากระยะไกล เปิดบริการ 24x7x365 เข้าใช้บริการอย่างทั่วถึง เชื่อมโยงและจัดการ อย่างเป็นเอกภาพ ภายใต้ระบบ Digital ขุมความรู้ แหล่งรวมความรู้ทุกรูปแบบ เอกสาร หนังสือ สิ่งพิมพ์ มัลติมีเดีย ภาพ เสียง วิดีโอ …... (ระยะทาง เวลา สถานที่ จะไม่เป็นอุปสรรค ต่อการให้บริการอีกต่อไป)

เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และ www กำลังมีบทบาทสูงมากในการเรียนรู้

องค์กรได้ประโยชน์จากข้อมูลบน WWW ปี 2003 ไทยมีข้อมูลรวมกันบนเว็บ 1.5 ล้าน URL pages ทั่วโลกมีประมาณ > 2000 ล้าน URL pages การบัฟเฟอร์ข้อมูลทั้งหมดของประเทศ ใช้เพียง 10-20 จิกะไบต์ การบัฟเฟอร์ของทั่วโลกจะมีค่าประมาณ 20-30 เทอราไบต์ เทคโนโลยีปัจจุบัน มีความเป็นไปได้ ที่จะสร้างบัฟเฟอร์ขนาด 20-30 เทอราไบต์

ตัวอย่างการสร้างสังคมการเรียนรู้ร่วมกัน Tacit to Tacit knowledge transfer

ตัวอย่าง e-Learning เพื่อองค์กรแห่งการเรียนรู้ Explicit to Tacit Knowledge transfer Explicit to Explicit Knowledge transfer

ตัวอย่างระบบไร้สาย KUWIN กรณีศึกษา เพื่อเข้าถึงขุมความรู้และการเรียนรู้ร่วมกัน

M@xLearn สำหรับเก็บเนื้อหาวิชา

E-Courseware เก็บความรู้พื้นฐาน

ตัวอย่าง e-Edutainment

สถานีวิทยุ ม.ก. การกระจายไร้ขอบเขต มีผู้ฟังจาก แคนาดา อเมริกา ยุโรป

ตัวอย่าง Multicast network KU-TV

ตัวอย่างการใช้ไอซีทีเชื่อมโยง การเรียนรู้

ตัวอย่าง Access Grid at Kasetsart University

ขุมความรู้ด้วย Digital Library ที่เข้าถึงได้ทุกหนทุกแห่ง KU Researchers extensively use Digital Library provided by UNINET IEEE Science Direct MedLINE TOXLINE DAO ERIC ABI/Inform AGRIS FAO/APAN Bio Informatic

จบแล้วครับ คำถาม ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น คำติชม เสียงบ่น รอยยิ้ม และอื่น ๆ

สวัสดี