ผลการศึกษาข้อมูลสาเหตุการตาย รพ.จังหวัดสมุทรปราการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการบันทึกข้อมูลเวชระเบียน การให้บริการสุขภาพช่องปาก
Advertisements

Medication reconciliation
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
การบริการทางการศึกษา
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วย (1)
การควบคุมการใช้ยานพาหนะและ การรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
กลุ่ม ๕.
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
แผนการดำเนินงาน โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “บริการฉับไว ไร้ความแออัด”
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
สถานีอนามัยบ้านแมด ตำบลดงชน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
4. การจัดทำและการส่งเอกสารสัญญาเงินกู้
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
ตัวชี้วัดและแนวทาง การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการ ค่ารักษาพยาบาล พ.ศ.2553 ประเภทผู้ป่วยใน
การระบุตำแหน่ง ตาม พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
ระบบประกันสังคม มี 2 กองทุน.....
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ปัจจุบันสามารถลงข้อมูลได้ทั้ง Off-line และ On-line เริ่ม 14 มีนาคม 54 แต่ต้องส่งจาก offline ออกสู่อินเตอร์เน็ตก่อน หลังจากนั้นขอใช้เป็นตัว online ไปเลย.
การเขียนรายงานการวิจัย
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
CQI เวชระเบียนผู้ป่วยใน หาย วัตถุประสงค์ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 2. สามารถค้นหาเวชระเบียน.
แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ.
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
ฉากทัศน์การจำลอง เหตุการณ์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสอีโบ ลา ฉากทัศน์ที่ ๑ พบผู้ป่วยสงสัยบน เครื่องบิน ฉากทัศน์ที่ ๒ พบผู้ป่วยสงสัยที่ด่าน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ.
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
การดำเนินการเกี่ยวกับพนักงานราชการ
LOGO. เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการศึกษาข้อมูลสาเหตุการตาย รพ.จังหวัดสมุทรปราการ ตายระหว่างเดือน มค.-กพ.2554 พญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ อ.ชูจิตร นาชีวะ และ อ.อรพิน ทรัพย์ล้น สนย. สป. กระทรวงสาธารณสุข

ระเบียบวิธีในการศึกษา ทบทวนประวัติการเจ็บป่วยและการรักษาทั้งหมดเท่าที่มีในแฟ้มผู้ป่วย เปรียบเทียบชื่อโรค (อาการ) และรหัสโรค (ICD 3 digits) ที่บันทึกในแฟ้มประวัติ สำเนาหนังสือรับรองการตาย และ ฐานทะเบียนมรณบัตร คัดเลือกโรคจากแฟ้มประวัติบันทึกเป็นสาเหตุการตายตามมาตรฐานองค์การอนามัยโลก (ICD10)

ผลการศึกษาจำนวน 101 ราย ร้อยละความสอดคล้องของการลงสาเหตุการตายของแพทย์ในโรงพยาบาล กับ คณะผู้ศึกษา 40

เปรียบเทียบความสอดคล้องระหว่าง รพ. กับคณะผู้ศึกษา

ข้อสังเกตและเสนอแนะ ข้อมูลส่วนใหญ่ปรากฎชัดเจนในแฟ้มประวัติผู้ป่วย แต่เนื่องจากเลือกรูปแบบการตายมาลงเป็นสาเหตุการตาย เช่น SEPSIS, PNEUMONIA ใบสรุปแฟ้มประวัติลงข้อมูลที่ไม่ค่อยมีประโยชน์กับการวินิจฉัยสาเหตุ โดยเฉพาะอาการและอาการแสดงระหว่างการดำเนินโรค ใบสรุปแฟ้มหลายใบไม่ตรงกัน แพทย์ควรทบทวนก่อนลงนามในใบสรุปแฟ้ม

ข้อสังเกตและเสนอแนะ กรณีที่มีโรคประจำตัวหลายโรค ซึ่งทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ตามมาคล้ายกัน เช่น DM, HT อาจมาด้วยไตวาย และติดเชื้อ จะต้องพิจารณาการดำเนินโรคในระยะท้ายว่าน่าจะเป็นโรคใดมากกว่ากัน โรคที่ต้องควบคุมเช่น Acute Poliomyelitis ห้ามลงหากไม่มีการยืนยันอย่างชัดเจน ควรมีคณะแพทย์/จนท. ต้องศึกษามาตรฐานการลงสาเหตุการตาย และร่วมกัน audit เพื่อปรับปรุงสาเหตุการตายในโรงพยาบาลให้ถูกต้อง

มาตรฐานการลงสาเหตุการตาย