ผลการศึกษาข้อมูลสาเหตุการตาย รพ.จังหวัดสมุทรปราการ ตายระหว่างเดือน มค.-กพ.2554 พญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ อ.ชูจิตร นาชีวะ และ อ.อรพิน ทรัพย์ล้น สนย. สป. กระทรวงสาธารณสุข
ระเบียบวิธีในการศึกษา ทบทวนประวัติการเจ็บป่วยและการรักษาทั้งหมดเท่าที่มีในแฟ้มผู้ป่วย เปรียบเทียบชื่อโรค (อาการ) และรหัสโรค (ICD 3 digits) ที่บันทึกในแฟ้มประวัติ สำเนาหนังสือรับรองการตาย และ ฐานทะเบียนมรณบัตร คัดเลือกโรคจากแฟ้มประวัติบันทึกเป็นสาเหตุการตายตามมาตรฐานองค์การอนามัยโลก (ICD10)
ผลการศึกษาจำนวน 101 ราย ร้อยละความสอดคล้องของการลงสาเหตุการตายของแพทย์ในโรงพยาบาล กับ คณะผู้ศึกษา 40
เปรียบเทียบความสอดคล้องระหว่าง รพ. กับคณะผู้ศึกษา
ข้อสังเกตและเสนอแนะ ข้อมูลส่วนใหญ่ปรากฎชัดเจนในแฟ้มประวัติผู้ป่วย แต่เนื่องจากเลือกรูปแบบการตายมาลงเป็นสาเหตุการตาย เช่น SEPSIS, PNEUMONIA ใบสรุปแฟ้มประวัติลงข้อมูลที่ไม่ค่อยมีประโยชน์กับการวินิจฉัยสาเหตุ โดยเฉพาะอาการและอาการแสดงระหว่างการดำเนินโรค ใบสรุปแฟ้มหลายใบไม่ตรงกัน แพทย์ควรทบทวนก่อนลงนามในใบสรุปแฟ้ม
ข้อสังเกตและเสนอแนะ กรณีที่มีโรคประจำตัวหลายโรค ซึ่งทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ตามมาคล้ายกัน เช่น DM, HT อาจมาด้วยไตวาย และติดเชื้อ จะต้องพิจารณาการดำเนินโรคในระยะท้ายว่าน่าจะเป็นโรคใดมากกว่ากัน โรคที่ต้องควบคุมเช่น Acute Poliomyelitis ห้ามลงหากไม่มีการยืนยันอย่างชัดเจน ควรมีคณะแพทย์/จนท. ต้องศึกษามาตรฐานการลงสาเหตุการตาย และร่วมกัน audit เพื่อปรับปรุงสาเหตุการตายในโรงพยาบาลให้ถูกต้อง
มาตรฐานการลงสาเหตุการตาย