นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
Advertisements

คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
ENGINEERING MATHAMETICS 1
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
ผู้สอนนางนิรมล โกวรรณ์ โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเขียงใหม่
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
จัดทำโดย นางคนึงนิตร เมืองอินทร์ ครูผู้ช่วย
พาราโบลา (Parabola).
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
สมาชิกในกลุ่ม การพัฒนาหรือการดำเนินการ
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
Points, Lines and Planes
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
เป็นจุดใดๆ ในพิกัดทรงกลม
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
Chapter 3 Graphics Output primitives Part II
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
หน่วยที่ 12 การประยุกต์อินทิกรัลหลายชั้น
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
Functions and Their Graphs
Function and Their Graphs
คำศัพท์บทที่ 1 เสนอ อาจารย์ชัยสิทธิ์ พงพัฒน จัดทำโดย นางสาวมานิตา จันแก่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 เลขที่ 22 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก.
เอกสารประกอบ หลักสูตรสถานศึกษา
อสมการ (Inequalities)
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
บทเรียนเพาเวอร์พอยท์
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๑ การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ ประกอบงาน การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ประกอบ งาน มีอยู่หลายวิธีขึ้นอยู่ กับ.
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
วงรี ( Ellipse).
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
ความชันและสมการเส้นตรง
คู่อันดับและกราฟของคู่อันดับ
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์ สื่อการเรียนการสอน เพาเวอร์พอยท์ เรื่องการเลื่อนแกนทางขนาน จัดทำโดย นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์ โรงเรียนวัดบวรนิเวศ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร เขต 1

การเลื่อนแกนทางขนาน ( Translation of Axes)

นำความรู้เรื่องการเลื่อนแกนทางขนาน ไปใช้ในการเขียนกราฟได้ ผลการเรียนรู้ นำความรู้เรื่องการเลื่อนแกนทางขนาน ไปใช้ในการเขียนกราฟได้

การเลื่อนแกนทางขนาน ( Translation of Axes) Y Y (x,y) P (x',y') y' x' y แกนใหม่ X  O'(h,k) k h แกนเดิม X O x

เมื่อแกนที่เลื่อนไปมีจุดกำเนิดเป็น (h , k) แล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างพิกัดของจุดที่อ้างแกนชุดเดิม (x , y) กับพิกัดของจุดเดียวกันที่อ้างอิงแกนชุดใหม่ (x,y) คือ x = x + h และ y = y+ k หรือ x = x - h และ y = y - k

ตัวอย่างที่ 1 ถ้าเลื่อนแกนไปโดยใช้จุด (2, 3) เป็นจุดกำเนิดใหม่ ตัวอย่างที่ 1 ถ้าเลื่อนแกนไปโดยใช้จุด (2, 3) เป็นจุดกำเนิดใหม่ ก. จงหาพิกัดของจุดต่อไปนี้ เมื่อเทียบกับแกนใหม่ (-2, 4) ,(5, 0), (0, 0) และ (2, 3) กราฟของสมการ y = จะมีสมการเทียบกับแกนใหม่ซึ่งใช้พิกัด (x,y) แทนพิกัด (x,y) เป็นอย่างไร

ก. จงหาพิกัดของจุดต่อไปนี้ เมื่อเทียบกับแกนใหม่ ก. จงหาพิกัดของจุดต่อไปนี้ เมื่อเทียบกับแกนใหม่ (-2, 4) ,(5, 0), (0, 0) และ (2, 3) วิธีทำ (h, k) = (2, 3) จะได้ h = 2 , k = 3 (x', y') = ( x- h , y- k ) 1) (-2,4) 3) (0,0) (x', y') = ( x- h , y- k ) (x', y') = ( x- h , y- k ) = ( -2-2 , 4-3 ) = ( 0-2 , 0-3 ) (x', y') = (-4, 1) (x', y') = (-2, -3) 2) (5,0) 4) (2,3) (x', y') = ( x- h , y- k ) (x', y') = ( x- h , y- k ) = ( 5-2 , 0-3 ) = ( 2-2 , 3-3 ) (x', y') = (3, -3) (x', y') = (0, 0)

กราฟของสมการ y = จะมีสมการเทียบกับแกนใหม่ซึ่งใช้พิกัด (x, y) แทนพิกัด (x, y) เป็นอย่างไร วิธีทำ จากสมการ y = จัดสมการให้อยู่ในรูปของ x – 2 และ y – 3 จะได้ y – 3 = แทนค่า y - 3 ด้วย y และ x – 2 ด้วย x จะได้ y = จะเป็นสมการเทียบกับแกนใหม่

การเลื่อนแกนทางขนานกับการเขียนกราฟ กราฟของสมการบางสมการ ถ้าเขียนกราฟในระบบพิกัดฉาก ที่มีจุดกำเนิดที่จุด (0 , 0) อาจเขียนได้ยาก แต่ถ้าเลื่อนแกนไปที่ จุด( h ,k ) ที่เหมาะสมและเปลี่ยนพิกัดจุด P(x, y) ใดๆ ในระบบเดิมเป็น P( x , y) ในระบบใหม่ โดยที่ x = x - h และ y = y - k แล้วจะทำให้สมการเทียบกับแกนใหม่มีรูปง่าย ต่อการเขียนกราฟดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนกราฟของ y = โดยเลื่อนแกนไปที่จุด ( 2, 3 ) เขียนกราฟ y = ดังนี้ Y Y X (2,3) X O กราฟที่ได้ นี้คือกราฟของสมการ y = ด้วย

ตัวอย่างที่ 3 จงเขียนกราฟของ y = ( x –2 )3 โดยเลื่อนแกนไปที่จุด ( 2, 0 ) เขียนกราฟ y = ( x)3 ดังนี้ Y Y (2,0) X ,X กราฟที่ได้นี้คือกราฟของสมการ ด้วย

จบการนำเสนอ