Lot By Lot Acceptance Sampling

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
School of Business Administration BANGKOK UNIVERSITY
Advertisements

บทที่ 6 การชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
บทที่ 7 แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
(Material Requirement Planning)
โครงงานเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
Product and Price ครั้งที่ 12.
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Chapter 10: Hypothesis Testing: Application
Thesis รุ่น 1.
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
บทที่ 4 จดหมายเสนอขาย เนื้อหาบทเรียน
Ecodesign นำเสนอ โดย นายนราวิชญ์ รุ่งเดช เลขที่ 25
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
(Sensitivity Analysis)
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
วิธีการทำงานของผังงาน
การตีราคาสินค้าคงเหลือ และ ต้นทุนขาย
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 11 กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategies)
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
งบลงทุน Capital Budgeting
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ (Spec.) และ การกำหนดขอบเขตของงาน (TOR)
Basic Knowledge By Kawinthorn Saicharoen
Basic EOQ By Kawinthorn Saicharoen
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
ก. จำนวนครั้งที่สั่งซื้อสบู่ ข. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อเดือน
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
การวัดผล (Measurement)
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
สื่อโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขาย
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
ตลาด ( MARKET ).
การออกแบบการวิจัย.
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
จัดทำโดย นางสาวพรรณทิวา พุทธาเทพ
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ข้อเสนอ การสร้างสรรค์ จังหวะเวลา และบริการที่มอบให้กับลูกค้า
ANSI/ASQ Z1.4 Acceptance Sampling Plans
(การสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ)
(การสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Lot By Lot Acceptance Sampling Single Plan Kawinthorn Saicharoen

ถ้าภาพนี้คือ สินค้าที่คุณได้รับมอบมาจากผู้ขาย จะยอมรับหรือไม่ ? ของเสีย ของดี

วิธีการที่จะตรวจสอบและตัดสินใจ มีวิธีในการตรวจสอบ 3 วิธี 1. ยอมรับโดยไม่ต้องมีการทดสอบ 2. ทำการทดสอบ 100% 3. Acceptance Sampling

เราจะใช้ การสุ่มตัวอย่างเมื่อ 1. เมื่อเป็นการทดสอบ แบบทำลาย 2. เมื่อ ทำการตรวจสอบ 100% มีต้นทุนสูงมาก 3. ไม่สามารถทำการตรวจสอบ 100% ได้ 4. ไม่รู้ระดับคุณภาพสินค้าของผู้ขาย 5. ผู้ค้ามีประวัติคุณภาพดี แต่ยังไม่ถึงขั้นไม่ต้องตรวจ 6. ประวัติผู้ค้าดีมากๆ แต่เสี่ยงมากถ้าไม่ตรวจ

วัตถุประสงค์ของการทำ การสุ่มเพื่อการทดสอบ ทำการสุ่มเพื่อการยอมรับเพื่ออะไร ? วัตถุประสงค์ของการทำ การสุ่มเพื่อการทดสอบ 1. เพื่อป้องกันการยอมรับของเสีย 2. เพื่อป้องกันการปฏิเสธของดี 3. เพื่อนำข้อมูลมาใช้เป็นประวัติคุณภาพ 4. เป็นแรงกระตุ้นทางเศรษฐกิจ

มีหลักการอยู่ 3 ประการที่ต้องรักษาอย่างเคร่งครัด 1 สินค้าที่นำมาทดสอบต้องเกิดจากการสุ่มเท่านั้น 2 ผลจากการสุ่มเพื่อการยอมรับหรือปฏิเสธรุ่นเฉพาะรุ่นนั้นเท่านั้น 3 เป็นแค่เครื่องมือในการตรวจสอบ Lot Sampling Attribute / Variable Summary สุ่ม วัดผล ทดสอบ ตัดสินใจ

เมื่อทำการเปรียบเทียบกับ 100% Inspection ข้อดี ข้อเสีย 1 ประหยัด 2 ทดสอบแบบทำลายได้ 3 ผลทางจิตวิทยาเมื่อส่งคืนทั้ง lot 1 เสี่ยงในการตัดสินใจ 2 ได้รับข้อมูลน้อยกว่าเมื่อเทียบกับ 100 % Inspection 3 เป็นการเพิ่มขั้นตอนในการทำงาน ด้านเอกสาร

Types of Acceptance sampling plan Classification of acceptance sampling plans Single Double, multiple Sequential Item sampling Bulk sampling By attributes By variables Acceptance sampling plans

Sampling by attributes concept Inspect & count number of defectives Acceptance number c Reject lot Accept lot N

อักษรย่อ และ นิยาม AQL = Acceptable Quality Level (จุดของผู้ขาย) เป็นระดับคุณภาพต่ำสุดที่ลูกค้ายอมรับได้ที่ Pa = (1-a) AQL เป็นสัดส่วนของเสียที่แย่ที่สุดที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต LTPD = Lot Tolerance Percent Defective (จุดของผู้ซื้อ) เปอร์เซ็นต์ของเสียที่ยอมรับได้ในรุ่น ที่ Pa = b LTPD เป็นสัดส่วนของเสียที่ผู้ซื้อเป็นผู้กำหนด

ACCEPTANCE SAMPLING FOR ATTRIBUTE ใช้กับข้อมูลที่เป็นการบ่งถึงคุณสมบัติ (ดี - เสีย) SINGLE SAMPLING PLAN มี 2 ตัวแปรที่สนใจคือ n คือ ขนาดของ SANPLE SIZE C คือ ของเสียสูงสุดที่ยอมรับได้ เช่น รับมอบสินค้าขนาด 300 ชิ้น/lot ทำการสุ่ม n = 50 ชิ้น ของเสียที่ยอมรับได้ C = 1 ชิ้น

ACCEPTANCE SAMPLING FOR ATTRIBUTE SINGLE SAMPLING PLAN NO Lot N=300 สุ่ม n = 50 C <= 1 ACCEPT REJECT YES

การออกแบบแผนการสุ่มชักตัวอย่าง แผนการสุ่มชักตัวอย่างเป็นการแจกแจงแบบทวินามมีค่าเปลี่ยนแปลงตามสัดส่วนของเสีย เมื่อ Pa คือ ความน่าจะเป็นในการยอมรับ p คือ สัดส่วนของเสีย

การออกแบบแผนการสุ่มชักตัวอย่าง เมื่อนำสมการการแจกแจงแบบทวินามมาคำนวณที่สัดส่วนของเสีย จะได้กราฟที่มีเส้นโค้ง แสดงคุณลักษณะของ Lot ซึ่งสามารถบอกถึงความสามารถในการสุ่มตัวอย่างโดยพิจารณาจากสัดส่วนของเสีย

ผลกระทบของ OC-Curve จากจำนวนตัวอย่าง ผลกระทบของ OC-Curve จากค่า C

ชนิดของ OC-Curve TYPE A - มีขนาด lot จำกัด (N) - เป็นการแจกแจงแบบ Hypergeometric TYPE B - มีขนาด lot ไม่จำกัด - เป็นการแจกแจงแบบ Binomial

การออกแบบแผนการชักตัวอย่าง ต้องคำนึงถึงตัวแปรต่างๆ 4 ค่าคือ  = ความเสี่ยงของผู้ผลิต b = ความเสี่ยงของผู้บริโภค AQL = ระดับคุภาพที่ยอมรับได้ LTPD = % ของเสียมากสุดที่ยอมรับได้ในรุ่น

OC Definitions on the Curve Probability of Accepting Lot Lot Quality (Fraction Defective) 100% 75% 50% 25% .03 .06 .09 a = 0.10 90% b = 0.10 AQL LTPD Indifferent Good Bad จุด a ต้องหาจุดค่า n และ c ที่ทำให้เส้นโค้งลากผ่าน จุด a และ จุด b จุด b

การออกแบบแผนการสุ่มเชิงเดี่ยวโดบใช้ OC-Curve ในการคำนวณจะใช้การแจกแจงแบบ ปัวซอง มาประมาณค่าการแจกแจงแบบทวินาม เพื่อง่ายต่อการคำนวณ

การออกแบบการสุ่มโดยการใช้ Binomial nomograph ตัวอย่างการใช้เช่น กำหนด a = 0.05 b = 0.1 AQL = 0.02 LTPD = 0.08 จงออกแบบแผนการสุ่มเชิงเดี่ยวโดยใช้ nomograph

การตรวจพินิจปรับแก้

การตรวจพินิจปรับแก้ ใช้ในการประเมินการแก้ไขคุณภาพสินค้า เป็นการพินิจปรับแก้กรณีที่รุ่นนั้นๆ ถูกปฎิเสธภายหลังจากการสุ่มตรวจ การปรับแก้ทำโดยการตรวจสอบ 100% ในรุ่นที่ถูกปฏิเสธ รุ่นที่ยอมรับ สินค้ามาส่ง รุ่นที่ปฎิเสธ ทำการตรวจสอบ 100% คัดของเสียออก

อักษรย่อ และ นิยาม AOQ = Average Outgoing Quality เป็นสัดส่วนของเสียโดยเฉลี่ยภายหลังการตรวจพินิจ AOQ > p ไม่ดี AOQL = Average Outgoing Quality Limit = Max p(AOQ) ATI = Average Total Inspection เป็นจำนวนที่ต้องทำการตรวจสอบโดยเฉลี่ย ต้องกำหนดแผนการสุ่มที่ทำให้ ATI มีค่าต่ำที่สุด

สูตรการคำนวณ AOQ มีการแทนทีด้วยของดี ไม่มีการแทนทีด้วยของดี N มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับ n

AOQL is the maximum point on the curve

มีการแทนทีด้วยของดี ไม่มีการแทนทีด้วยของดี