ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร บทที่ 14 ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร จากการสังเกต พบว่า เมื่อยิง อิเล็กตรอนผ่านสลิต แล้วนำ ฉากไปรับ จะเกิดเป็นแถบมืด และแถบสว่างคล้ายกับ ลักษณะ ของการเลี้ยวเบน และ และการแทรกสอดในการที่จะ อธิบายปรากฏการณ์ดังกล่าว
เดอบรอยล์ เสนอ ว่า l : ความยาวคลื่น เดอ บรอยล์ h : Planck constant p : โมเมนตัม การทดลองที่ยืนยันสมมุติฐาน ของ เดอ บรอยล์ ( De Broglie )
1. การทดลองของ Davission และ Germer (เลี้ยวเบน) โดยการยิงอิเล็กตรอนใส่ผลึก 2. การทดลองของ G.P. Thomson (เลี้ยวเบน) โดยการยิง อิเล็กตรอนใส่ แผ่นอลูมิเนียมบาง
หลักความ ไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก ใช้ได้ ทั้งวัตถุ ที่ต้องการศึกษาตลอดจนไปถึงโฟตอน ผลคูณของความไม่แน่นอนใน การวัดตำแหน่ง และโมเมนตัม ขณะใดๆ จะมี ค่ามากกว่าหรือ เท่ากับ Planck Constant หารด้วย 2p ใช้สัญลักษณ์
ดังนั้นการศึกษาทฤษฎีควอนตัม มักจะใช้ฟังก์ชันคลื่น แทนในการศึกษา อนุภาคต่าง ๆ : เลขคลื่น, A : amplitude : ความ ถี่เชิงมุม
โดยสมการที่ใช้อธิบาย การเคลื่อนที่ ในทฤษฎีควอนตัมมักจะใช้ สมการ Schrodinger V : ฟังก์ชันพลังงานศักย์ E : พลังงาน ของอนุภาค
ใน 1 มิติ สมการจะลดรูปเหลือเพียง
ถ้า V(x) = 0 หรือกรณีของ อนุภาคอิสระจะได้ว่า ความหมายของ Y
ตัวอย่างความยาวคลื่นของเดอบรอย์ 1. จงหาความยาว ช่วงคลื่นของอิเลคตรอน ที่มีความเร็ว 103 m/s
2. อิเลคตรอนถูกเร่งด้วยความต่างศักย 2 x 104 โวลท์ - จงหาพลังงานจลน์ของ อิเลกตรอน - จงหาโมเมนตัมของ อิเลกตรอน - จงหาความยาวคลื่นเดอบรอยของ อิเลกตรอน
ตัวอย่างหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบอร์ก 3. ลูกปืนวิ่งด้วยความเร็ว 500 m/s ลูกปืนมีมวล 50 g. และความแม่นยำ ในการวัดความเร็ว คือ 0.01% จงหาความไม่แน่นอนทาง ตำ แหน่ง
ตัวอย่างการประยุกต์สมการ Schrodinger 4. ในบ่อศักย์ ซึ่ง จงหาระดับพลังงานของอนุภาค ใน 1 มิติ โดยใช้ Schrodinger Equation