Uncertainty of Measurement

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
ข้อเสนอแนะในการเสนองานวิจัย
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
Chapter 11 : System Implementation
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
ประเด็นทางจริยธรรมสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร์ (Ethical Issues in Quantitative Methodology in Social Research ) ธีรเดช ฉายอรุณ หลักสูตรประชากรศึกษา.
วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวิจัย RESEARCH.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การเขียนรายงานการทดลอง
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
(Sensitivity Analysis)
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
การจัดกระทำข้อมูล.
การออกแบบการวิจัย.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ (Spec.) และ การกำหนดขอบเขตของงาน (TOR)
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การเขียนรายงานการวิจัย
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
Geographic Information System
มาตรฐานการควบคุมภายใน
ข้อพิจารณาเกี่ยวกับ คุณภาพการเรียนอิเล็กทรอนิกส์
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
ผศ. ดร. ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวคิดในการทำวิจัย.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
กระบวนการวิจัย Process of Research
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Uncertainty of Measurement Dss Technical Committee

แนวทางการประมาณค่าความไม่แน่นอนของการวัด ปัจจุบันมีแนวทางการประมาณค่าความไม่แน่นอนและ/หรือประมาณค่าตัวแปรในวิธีทดสอบหลายวิธี ซึ่งข้อกำหนด ISO/IEC 17025 ไม่ได้ระบุว่าต้องใช้แนวทางใด ห้องปฏิบัติการควรใช้แนวทางทางสถิติที่ถูกต้อง (valid approaches) แนวทางที่มีประมาณค่าความไม่แน่นอนอย่างสมเหตุสมผลและพิจารณาแล้วว่าถูกต้องตามหลักวิชาการยอมรับได้จะถือว่าแนวทางทั้งหมดมีความเชื่อถือได้เท่าเทียมกัน

แนวทางเหล่านี้ได้แก่ 1. แนวทางการประมาณค่าความไม่แน่นอนตาม ISO GUM Approach หรือ Bottom-up Approach แนวทางนี้เป็นแนวทางที่เข้มงวดในการประมาณค่าความไม่แน่นอนของการวัด แนวทางนี้มีรูปแบบที่ชัดเจนในโครงสร้าง และการกำหนดค่าความไม่แน่นอน หากห้องปฏิบัติการต้องการพัฒนาทางเทคนิคการทดสอบ โดยใช้หลักการลด-เพิ่มค่าความไม่แน่นอนในแต่ละปัจจัย แนวทางนี้จะเห็นรายละเอียด และสามารถเห็นแนวทางการพัฒนาได้อย่างชัดเจน แนวทางนี้เหมาะสมกับวิธีการใหม่ที่ยังไม่มีข้อมูลตัวเลขจาก QA/QC ที่เหมาะสม

หากห้องปฏิบัติการมีค่า Lab Bias น้อย ค่าความไม่แน่นอนอาจสูงเกินจริง 2. แนวทางการประมาณค่าความไม่แน่นอนจาก ข้อตกลงตามวิธีทดสอบ (Analytical Methods Approach) หรือ Top-down Approach เป็นแนวทางที่ได้จากข้อมูลของกลุ่มห้องปฏิบัติการ โดยการนำค่าความผิดพลาดทั้งเชิงระบบ และเชิงสุ่ม คือ Bias, repeatability และ reproducibility มาพิจารณาหาค่าความไม่แน่นอน แนวทางนี้จะดำเนินการได้หากมีโปรแกรมการทดสอบความชำนาญอย่างเหมาะสม นั่นคือครอบคลุมช่วงการวัดและลักษณะตัวอย่าง หรืออาจใช้ ฟังก์ชัน Horwiz หากห้องปฏิบัติการมีค่า Lab Bias น้อย ค่าความไม่แน่นอนอาจสูงเกินจริง หากห้องปฏิบัติการมีค่า Lab Bias สูงมาก ค่าความไม่แน่นอนอาจต่ำกว่าจริง

3. แนวทางการประมาณค่าความไม่แน่นอนจากข้อมูลในกระบวนการตรวจสอบความใช้ได้ในวิธีการทดสอบ (Uncertainty using the information from the validation process) ความแม่นของวิธีการทดสอบอาจได้จากผลการทดสอบภายในห้องปฏิบัติการเดียว นั่นคือต้องมีการสอบกลับได้อย่างเหมาะสม ค่าความไม่แน่นอนคำนวณจากผลรวมขององค์ประกอบจากการประกันคุณภาพของห้องปฏิบัติการ ค่า bias ของกระบวนการวัด และเทอมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง แนวทางนี้เป็นแนวทางที่ง่าย ปฏิบัติได้ง่าย ค่าใช้จ่ายไม่สูง ข้อจำกัดของแนวทางนี้ หากจำนวนและชนิดของสารอ้างอิงมาตรฐานมีจำกัด และหากการสอบกลับได้อยู่ในระดับชั้นความแม่นต่ำ ห้องปฏิบัติการควรพิจารณาเทอมอื่นๆ เพิ่มในแหล่งความไม่แน่นอนของการวัด ยิ่งไปกว่านั้นห้องปฏิบัติการจะต้องระมัดระวังตัวแปรที่อาจไม่ได้รวมในการประมาณค่าความแม่นของวิธีการทดสอบ

4. แนวทางการประมาณค่าความไม่แน่นอนจากวิธีการทดสอบที่เป็นที่รู้จักกันดี “Well Recognized Test Method” วิธีการดังกล่าวได้มีการกำหนดขีดจำกัดของแหล่งของค่าความไม่แน่นอนหลัก และกำหนดรูปแบบการรายงานผลการทดสอบเอาไว้แล้ว การทดสอบนั้นมีการระบุค่าความไม่แน่นอนสูงสุดที่ยอมรับได้ หรือขอบเขตที่ยอมได้มากที่สุดของแต่ละการวัด และวิธีการทดสอบที่มีการระบุขอบเขตของสภาวะแวดล้อม หรือปัจจัยอื่นๆ ที่รู้ว่ามีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญต่อผลการทดสอบ ห้องปฏิบัติการต้องแสดงให้เห็นว่ามีความสามารถในการทดสอบ และสามารถควบคุมปัจจัยต่างๆ ที่ระบุ ตามที่วิธีการทดสอบระบุอย่างเคร่งครัด