อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

PCTG Model อริยมงคล 55.
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคและ การพัฒนาเครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชน
แนวทางการดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
ขวา ซ้าย.
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การปลูกพืชผักสวนครัว
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม

วิวัฒนาการ โครงการ อย.น้อย เริ่มทำจังหวัดละ 5 โรงเรียน เริ่ม ปี 2546 สสส. สนับสนุนการทำเครือข่าย อย.น้อย ปี 2549 สนับสนุนการทำโครงงานแก้ไขปัญหาสุขภาพ ปี 2552

อย.น้อยได้อะไร จากการทำกิจกรรม ได้เรียนรู้การทำงานร่วมกัน ได้เรียนรู้การบริหารงาน การวางแผนทำงาน ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ได้บำเพ็ญประโยชน์ สร้างความภาคภูมิใจ ได้เรียนรู้การบริโภคอย่างปลอดภัย ได้รู้จักเพื่อนต่างสถาบัน เกิดเครือข่าย

โครงสร้างการดำเนินงาน อย.น้อย มีสมาชิกแกนนำ อย่างน้อย 1 คน ต่อ 1 ห้องเรียน มีสมาชิกหรือผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 25% ของนักเรียนทั้งหมด มีการจัดทำแผนงาน มีการประชุมกรรมการเป็นประจำ

กิจกรรมในโรงเรียน การเผยแพร่ความรู้ในโรงเรียน การตรวจสอบอาหารโดยใช้ชุดทดสอบ การตรวจสอบภาชนะบรรจุ ฉลาก การเก็บรักษา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ การส่งเสริมสุขลักษณะของสถานที่ และพฤติกรรมด้านสุขภาพของนักเรียน การรณรงค์ด้านการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างเหมาะสม

การเชื่อมโยงกิจกรรม สู่การเรียนการสอน การเชื่อมโยงกิจกรรม สู่การเรียนการสอน การนำกิจกรรมไปเชื่อมโยงกับวิชาที่เรียน การบูรณาการเข้าสู่การสอน

การบริโภคและกิจกรรมในบ้านเรือน การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การเลือกซื้อ การแนะนำความรู้ให้บุคคลในบ้าน การแยกแยะข้อมูลโฆษณา เป็นต้น การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ในบ้านเรือนตนเอง

กิจกรรมที่ขยายผลสู่ชุมชน การตรวจสอบอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ รอบโรงเรียน การตรวจสอบอาหารในตลาด การเผยแพร่ความรู้ในชุมชน เช่น ใช้หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน ป้ายนิเทศ การรณรงค์

การสร้างเครือข่าย อย.น้อย การทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างโรงเรียนในเครือข่าย กิจกรรม อย.น้อย สอนน้อง

การประเมินผล 2549 เกิดความสอดคล้อง เกิดการเปลี่ยนแปลงนักเรียน เกิดกระบวนความร่วมมือ เกิดการเปลี่ยนแปลงผู้ค้า/ร้านค้า 2549 เกิดการขยายผล อ.สุนทรี และคณะ

การประเมินผล นักเรียนมีทัศนคติด้านเผยแพร่ ปชส. มากที่สุดรองลงมาคือ การตรวจสอบและเฝ้าระวัง นักเรียนมีความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2550 นักเรียนเรียนรู้จากครู สื่อ และการลงมือปฏิบัติ อ.อนุชัย และคณะ

การประเมินผล 2551 ประเมิน พฤติกรรมการบริโภค การบูรณาการ สิ่งแวดล้อม คู่มือบูรณาการ ฐานการพัฒนา 55.49 % มีพฤติกรรมเหมาะสม 100 % มีการบูรณาการ 100 % บริโภคปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม 90 % ครูใช้คู่มือบูรณาการ 2551 ฐานการพัฒนามี 4 องค์ประกอบหลัก อ.ศิริเดช และคณะ

ขับเคลื่อนด้วย 4 ยุทธศาสตร์ แนวทางการใช้โรงเรียน อย.น้อย เป็นฐานการพัฒนาและ ส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี ขับเคลื่อนด้วย 4 ยุทธศาสตร์ องค์ประกอบที่ 2 กำหนดวิสัยทัศน์ และมีการ บูรณาการความร่วมมือ องค์ประกอบที่ 1 ส่งเสริมและพัฒนา นโยบายโรงเรียน เครือข่าย รวมพลัง บูรณาการการสอน

ใช้กระบวนการคุณภาพ PDCA กำกับ ติดตาม และประเมินผล แนวทางการใช้โรงเรียน อย.น้อย เป็นฐานการพัฒนาและ ส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี ใช้กระบวนการคุณภาพ PDCA องค์ประกอบที่ 3 กำกับ ติดตาม และประเมินผล องค์ประกอบที่ 4

แนวทางดำเนินโครงการ อย.น้อย ปี 2553

ปี 2553 เน้นสร้างเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน อย.น้อย ไม่มีการประกวดจากส่วนกลาง จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปี 2553 คู่มือการเรียนการสอน ส่งเสริมเครือข่ายครูแกนนำ สนับสนุนสื่อและงบประมาณ

การดำเนินการของจังหวัด อิสระ บรรลุเป้าหมาย ไม่จำกัดรูปแบบ การดำเนินการของจังหวัด

โครงการ อย.น้อย สสส. พัฒนาทักษะชีวิต ร่วมคิดแก้ปัญหาสุขภาพ โครงการ อย.น้อย สสส. พัฒนาทักษะชีวิต ร่วมคิดแก้ปัญหาสุขภาพ งบ 7 ล้านบาท เป็นโครงการนำร่อง ทดลองใน 13 โรงเรียน ภาคละ 2 โรงเรียน และ กทม. 3 โรงเรียน เน้นการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา

ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ข้อ 70 เด็ก เยาวชน ..... ต้องได้รับความคุ้มครองเป็นพิเศษตามสิทธิที่กฎหมายบัญญัติ และต้องได้รับโอกาสในการพัฒนาทักษะชีวิต รู้เท่าทันสื่อ มีส่วนร่วมในการคุ้มครองผู้บริโภค ทั้งนี้การสื่อสารข้อมูล ต้องมีความเหมาะสมตามวัยและสภาพของบุคคล เข้าถึงได้ง่าย เข้าใจง่าย และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้

ทักษะชีวิต การวิเคราะห์วิจารณ์ ความคิดสร้างสรรค์ ความตระหนักรู้ในตน ความเห็นใจผู้อื่น ความภาคภูมิใจในตนเอง ความรับผิดชอบต่อสังคม การสร้างสัมพันธภาพ การสื่อสาร การตัดสินใจ การแก้ปัญหา การจัดการกับอารมณ์ ความเครียด

ขอบคุณ