การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
ผลการดำเนินงานเอดส์ ปี 2550
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
จากก้าวแรก EWI สู่การพัฒนางาน
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555

1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา

กทม. กิจกรรมป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยาในพื้นที่กทม รพ.ตามสิน คณะแพทย์ศาสตรวิชะพยาบาล เตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนเริ่มยา เผ้าระวังในกลุ่มเสี่ยง : buddy , update โทรศัพท์ทุก visit สคร.1 โครงการพัฒนารูปแบบระบบบริการในการติดตามผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาได้ตรงตามนัด ทบทวนปัญหา สาเหตุ หาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน จัดรูปแบบ นวัตกรรมในกาติดตามผู้ป่วย : พัฒนาแบบเก็บ จับคู่เตือนเพื่อน จัดกฎระเบียบข้อตกลง แนวปฏิบัติเมื่อไม่สามารถมาตงตามนัด สร้างแรงจูงใจ สคร. 2 โครงการพัฒนาเครือข่ายหน่วยบริการเพื่อการประเมินตัวชี้วัดสัญญาณเตือนการดื้อยาต้านไวรัส จังหวัด สระบุรี ประชุมเตรียมความพร้อมครู ก 3 รพ.นำร่อง Workshop HIV-co เภสัช ใน 9 รพ. ที่เหลือในจังหวัด ในกาขยายเครือข่าย EWI เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรมเรื่องเล่า “EWI Award 2012” สคร. 3 โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังสัญญาญเตือนการเกิดเชื้อดื้อยา พัฒนาระบบบันทึกข้อมูลให้เป็นแนวทางเดียวกัน และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

สคร. 4 โครงการพัฒนารูปแบบการจัดเก็บข้อมูลการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์จังหวัด เพชรบุรี ประชุมถอดบทเรียนจากการทำงาน “การบันทึกข้อมูลดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์” ร่างแบบบันทึกและคู่มือจัดเก็บข้อมูล ทดลองใช้ สรุปและปรับปรุงแก้ไข จัดพิมพ์แบบบันทึก สคร. 5 โครงการพัฒนาคุณภาพการเก็บข้อมูลตัวชี้วัดสัญญาณเตือนกาเกิดเชื้อดื้อยา จังหวัดสุรินทร์ พัฒนาศักยภาพบุคลากร และครือข่าย พัฒนาแบบฟอร์ม และวิธีเก็บข้อมูล อย่างครบถ้วนและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน พัฒนากิจกรรมบริการ สคร. 6 โครงการพัฒนาระบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วยเอดส์สคร.6 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแบบฟอร์มเก็บข้อมูลได้อย่างครบถ้วน สะดวกต่อการใช้งาน ทดลองใช้แบบฟอร์ม ขยายพื้นที่ในการทำ EWI ในจังหวัด

สคร. 7 โครงการพัฒนาคุณภาพข้อมูลตัวชี้วัดสัญญาเตือนการเกิดดื้อยา ประขุมรพ.นำร่อง 3 รพ ชี้แจงผู้ปฏิบัติงาน ผู้ลงข้อมูล NAP เกี่ยวกับการลงข้อมูลที่มีปัญหา นำแนวทางกาลงข้อมูลที่ตกลงร่วมกันไปทดลองปฏิบัติ แล้วนำโปรแกรมAccess ดึงข้อมูลจาก NAP เพื่อประเมินผลหลังปฏิบัติ โครงการลดร้อยละของผู้ที่เริ่มรับรายใหม่ขาดการติดตามในช่วง 12 เดือนแรกหลังเริ่มยาให้ <20% พัฒนาระบบการเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยรายใหม่ โดยใช้การเรียนรู้โดยตรง (Treatment Literacy) พัฒนาศักยภาพแกนนำ สคร.8 โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ โดยใช้ตัวชี้วัดสัญญาณเตือนการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา เก็บ review opd card ปี 2552 ในรพ.นำร่อง 3 แห่ง ชี้แจงโครงการ EWI ให้แก่รพ.ชุมชนทุกแห่งในจังหวัดนครสวรรค์ สคร.9 โครงการขยายการติดตามตัวชี้วัดสัญญาณเตือนการเกิดเชื้อดื้อยา ขยายเครือข่ายทั้งจังหวัดสุโขทัย

สคร. 10 โครงการพัฒนาระบบการเก็บข้อมูลสารสนเทศสำหรับตัวชี้วัด EWI นำโปแกรมที่มีอยู่ มาใช้เก็บข้อมูลแบบไปข้างหน้า รายบุคคล ทุก visit ประมวลผลเมื่อครบปี สคร. 11 โครงพัฒนาระบบการติดตามการกินยาต่อเนื่อง (Adherence) พัฒนารูปแบบแบบฟอร์มเก็บข้อมูล รูปแบบการบันทึกกาประเมินกากินยาไปในแนวทางเดียวกัน สร้างความตะหนักการมีส่วนร่วมการป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยา สคร. 12 โครงการพัฒนาระบบการติดตามผู้ป่วยให้รับยาตรงตามนัด ไม่ให้ขาดยา ประชุมทีม 5 ด้าน เพื่อจัดทำแนวทางกาติดตามผู้ป่วย จัดทำแบบฟอร์มบันทึกการติดตามผู้ป่วย

Next step !!!!! ดำเนินการตามแนวของทีมที่ระดมความคิด ดูข้อมูล EWI จากข้อมูล NAP - download ข้อมูลรพ. : http://napdl.nhso.go.th - download โปรแกรม : www.gfaidscare.com/EWI พัฒนาและวางแผนกิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยาอย่างต่อเนื่อง ติดตามและประเมินผล

ชื่อโปรแกรม ชื่อย่อ HAART= เตือนใจ NAPDAR IMPACT NADAR HADAR AROMA Hospital AIDS Analysis and Reporting Tools 1111111111 NAPDAR NAP data analysis and reporting tool 11 IMPACT Integrated Monitoring Package for ART care and treatment. 1111111111111111111 NADAR National AIDS database analysis and reporting tool 111111111 HADAR Hospital AIDS database analysis and reporting tool AROMA Antiretroviral Response and Outcome monitoring analysis 1(ชัยรักษ์ นาคช่วย ร.พ.กันตรัง) ALARM Assessment level of Antiretroviral report monitoring 1(อ.กษิวัตฒ์) THADAR Thailand Hospital Data Analysis and report 111 RAWANG=ระวัง Report Analysis Warning ART National Guidance THAI Thailand Hospital AIDS indicator 1(จีราภรณ์ สิทธิโชคธรรม ร.พ.ท่ายาง) HIMPACT Hospital Integrated Monitoring Package for ART care and treatment. 1(สุพินดา อุพันทา ร.พ. วารินชำราบ) NAPAR = National AIDS-database Program for Analysis and reporting tool 1(อ.นพดล) NANDRA = National AIDS Network Drug Resistance and Analysis e-NAP Report 1 HOS-HIV-DR ชื่อโปรแกรม

Download เอกสารการประชุม ได้ที่ www.GFAIDSCARE.com