หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประมาณผลผลิตตามศักยภาพของประเทศไทย Parametric Estimation of Thailand’s Potential Output โดย ปฤษันต์ จันทน์หอม Potential Output.
Advertisements

อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
ลิมิตและความต่อเนื่อง
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
EC451 Lecture 10 Heckscher-Ohlin (4) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ.
บทที่ 9: ผลของการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่อการค้าระหว่างประเทศ
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
การประยุกต์ใช้องค์ประกอบของต้นทุนการผลิตเพื่อการบริหารอย่างมืออาชีพ
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตัวอย่าง: ดุลยภาพในการแลกเปลี่ยนและการผลิต
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การศึกษาชีววิทยา หน้าถัดไป.
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
(Sensitivity Analysis)
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การติดตาม และประเมินโครงการ.
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ให้ประหยัดการใช้หน่วยความจำ (space) ด้วยความรวดเร็ว (time)
การจัดกระทำข้อมูล.
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง Factors Contributing to the successful Implementation of Technology Innovations by David C. Ensminger, Daniel W.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
การบริหารจัดการอัตรากำลัง
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
การวิเคราะห์ Competency
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ผศ. ดร. ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
ผศ. ดร. ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
Uncertainty of Measurement
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
ทฤษฎีการผลิต.
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร ผศ. ดร. ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Lecture 5: ขอบเขตเนื้อหา การเพิ่มผลผลิต และการเติบโตการเพิ่มผลผลิต การวัดการเพิ่มผลผลิตด้วยวิธีตัวเลขดัชนี ตัวเลขดัชนี Laspeyres, Paasche, Fisher, Tornqvist การแยกค่าการเพิ่มผลผลิตด้วยวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม

การวัดการเพิ่มผลผลิต การเพิ่มผลผลิต (productivity) = ปริมาณผลผลิต (outputs) ปริมาณปัจจัยการผลิต (inputs) ถ้ากระบวนการผลิตประกอบไปด้วยผลผลิตและปัจจัยการผลิตจำนวนมากกว่าหนึ่งชนิด การเพิ่มผลผลิตที่วัดได้ หมายถึง การเพิ่มผลผลิตของปัจจัยการผลิตรวม (total factor productivity, TFP)

การเติบโตการเพิ่มผลผลิตของปัจจัยการผลิตรวม ถ้ากระบวนการผลิตประกอบไปด้วยผลผลิตและปัจจัยการผลิตจำนวนหนึ่งชนิด การเติบโตการเพิ่มผลผลิตของปัจจัยการผลิตรวม (total factor productivity growth, TFP growth) ระหว่างช่วงเวลาที่ 1 และ 2 คือ ตัวอย่าง สัปดาห์ที่ 1 นาย ก ทำความสะอาดหน้าต่าง 10 บาน ภายใน 8 ชม สัปดาห์ที่ 2 นาย ก ทำความสะอาดหน้าต่าง 20 บาน ภายใน 12 ชม TFP เพิ่มขึ้น = 1.66-1.25 = 0.41 TFP growth เพิ่มขึ้นเท่ากับ 33%

การวัดการเพิ่มผลผลิตด้วยวิธีตัวเลขดัชนี ในระยะเริ่มต้น การเพิ่มผลผลิตวัดโดยการใช้วิธี ตัวเลขดัชนี (index number) TFP index = Output index Input index ตัวเลขดัชนีที่นิยมใช้ได้แก่ 1. Laspeyres 2. Paasche 3. Fisher 4. Tornqvist ตัวเลขดัชนีทั้ง 4 แตกต่างกันตรงการให้คำนิยามเกี่ยวกับค่าน้ำหนักที่กำหนด และระยะเวลาที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณ กำหนดผลผลิตจำนวน N ชนิด และระยะเวลาที่ใช้ คือ s และ t pis และ qis คือ ราคาและปริมาณสินค้าของผลผลิตที่ i ณ เวลา s pit และ qit คือ ราคาและปริมาณสินค้าของผลผลิตที่ i ณ เวลา t

ตัวเลขดัชนีราคา Laspeyres ตัวอย่าง Period q1 q2 p1 p2 1 471 293 27 18 2 472 290 28 17

ตัวเลขดัชนีราคา Paasche กำหนดระยะเวลา t เป็นฐานในการคำนวณหาค่าน้ำหนัก ตัวเลขดัชนีราคา Paasche หาได้จากความสัมพันธ์ ตัวอย่าง Period q1 q2 p1 p2 1 471 293 27 18 2 472 290 28 17

ตัวเลขดัชนีราคา Fisher จากตัวอย่างที่ผ่านมา

ตัวเลขดัชนีราคา Tornqvist จากตัวอย่างที่ผ่านมา

ตัวเลขดัชนีปริมาณผลผลิต ตัวเลขดัชนีปริมาณผลผลิตทั้ง 4 หาได้จากความสัมพันธ์

ตัวเลขดัชนีปริมาณผลผลิต จากตัวอย่างที่ผ่านมา

ตัวอย่างการวัด TFP growth จากตัวอย่างที่ผ่านมา หา TFP growth โดยใช้ตัวเลขดัชนี Tornqvist ระหว่างช่วงเวลาที่ 1 และ 2 TFP growth ลดลง 9.3% ระหว่างช่วงเวลาที่ 1 และ 2 Period q1 q2 p1 p2 x1 x2 x3 w1 w2 w3 1 471 293 27 18 145 67 39 100 2 472 290 28 17 166 75 41 110 97 3 477 278 34 162 78 43 42 114 103 4 533 277 32 20 178 89 46 121 119 5 567 289 23 177 93 51 142 122

การวัดการเพิ่มผลผลิตด้วยวิธีตัวเลขดัชนี ข้อดี 1. สามารถทำการคำนวณได้ง่าย โดยใช้ข้อมูลของราคาและปริมาณการผลิตที่เกิดขึ้นจริงในการคำนวณ 2. ต้องการข้อมูลทางด้านการผลิตอย่างน้อยเพียง 2 จุดเท่านั้นในการคำนวณ ข้อเสีย ไม่สามารถหาองค์ประกอบต่างๆที่ส่งผลให้เกิดการเพิ่มผลผลิต ต่อมาได้พัฒนาวิธีที่เรียกว่า การวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม (stochastic frontier analysis) ซึ่งเป็นการกำหนดฟังก์ชันที่นำมาใช้เพื่อเป็นตัวแทนของเทคโนโลยีการผลิตสำหรับกระบวนการผลิต โดยอาศัยเทคนิคการหาค่าเหมาะสม (non-parametric technique) และเทคนิคการประเมินค่าตัวแปร (parametric technique)

การแยกค่าการเติบโตการเพิ่มผลผลิต พิจารณากระบวนการผลิตที่ประกอบไปด้วยเชตของผลผลิต M ชนิดและปัจจัยการผลิต K ชนิด ภายใต้สมมติฐานที่ว่าระยะที่ผลได้ต่อขนาดลดลง หน่วยผลิตทำการผลิต (xt,yt) ที่เวลา t และผลิต (xt+1,yt+1) ที่เวลา t+1 เทคโนโลยีการผลิตที่เวลา t ถูกแทนด้วย St และที่เวลา t+1 ถูกแทนด้วย St+1

การแยกค่าการเพิ่มผลผลิตวิธีวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม พิจารณากระบวนการผลิตที่ประกอบไปด้วยผลผลิต 1 ชนิดและปัจจัยการผลิต K ชนิด ฟังก์ชันเส้นพรมแดนการผลิตที่มีรูปแบบ Translog สามารถแสดงได้ดังนี้ โดยที่ ynt, xnt คือ ผลผลิตและปัจจัยการผลิตของหน่วยผลิตที่ n ที่เวลา t

การแยกค่าการเพิ่มผลผลิตวิธีวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม การเพิ่มผลผลิตประกอบไปด้วยองค์ประกอบต่างๆ ดังนี้ ภายหลังจากที่ตัวแปรต่างๆที่อยู่ในเส้นพรมแดนการผลิตถูกประเมิน องค์ประกอบต่างๆของการเพิ่มผลผลิตสามารถคำนวณได้ดังนี้

การแยกค่าการเพิ่มผลผลิตวิธีวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม พิจารณากระบวนการผลิตที่ประกอบไปด้วยผลผลิต M ชนิดและปัจจัยการผลิต K ชนิด ฟังก์ชันระยะทางปัจจัยการผลิตที่มีรูปแบบ Translog สามารถแสดงได้ดังนี้ จากคุณสมบัติการเป็นฟังก์ชันเอกพันธ์ลำดับที่ 1 ในปัจจัยการผลิต จะได้ ฟังก์ชันระยะทางผลผลิตสามารถเขียนใหม่ได้เป็น

การแยกค่าการเพิ่มผลผลิตวิธีวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม กำหนด -dnti = vnt-unt ทำให้สามารถประเมินค่าตัวแปรต่างๆโดยวิธีวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม ภายหลังจากที่ตัวแปรต่างๆที่อยู่ในเส้นพรมแดนการผลิตถูกประเมิน องค์ประกอบต่างๆของการเพิ่มผลผลิตสามารถคำนวณได้ดังนี้