ระบาดวิทยา Epidemiology.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบาดวิทยาเพื่อการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
Advertisements

การดูแลระยะตั้งครรภ์
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
รูปแบบการวิจัย Research Design
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
เทคนิคการออกสอบสวนโรค สุทธิลักษณ์ หนูรอด นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา.
มาตรการของจังหวัดหนองบัวลำภู
วิทยาการระบาด (EPIDEMIOLOGY)
วิทยาการระบาดอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
วิธีการทางวิทยาการระบาด
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การจำแนกชนิดผลิตภัณฑ์สุขภาพ
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
10 ลำดับโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ไข้เลือดออก.
การเขียนรายงานการสอบสวนทางระบาดวิทยา
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษ อุบลรัตน์ นฤพนธ์จิรกุล
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
นางอุบลรัตน์ นฤพนธ์จิรกุล สำนักระบาดวิทยา
Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
Introduction to Epidemiology
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)
โครงการนำร่อง การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคกลุ่มแรงงาน
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
บทที่ 1 บทนำ(Introduction)
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
หลักระบาดวิทยาสำหรับ ป.ตรี
การเจริญเติบโตของพืช
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบาดวิทยา Epidemiology

ความหมาย การศึกษาเกี่ยวกับการกระจาย ( Distribution ) ของปัญหาสุขภาพหรือโรคและมีปัจจัยองค์ประกอบ (Determinants ) ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปัญหาสุขภาพหรือโรคนั้น

การกระจายของโรค ( Distribution ) เวลา ( TIME ) เมื่อไร นานแค่ไหน สถานที่ (PLACE) ที่ไหน บุคคล (PERSON ) อายุ เพศ อาชีพ เชื้อชาติ

ปัจจัยองค์ประกอบการเกิดโรค Agent Host Environment

HOST ( มนุษย์ ) องค์ประกอบของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องต่อความไวในการเกิดโรค ( susceptibility ) ได้แก่ อายุ เพศ พันธุกรรม ประสบการณ์การเกิดโรค องค์ประกอบของร่างการและจิตใจ พฤติกรรม

AGENT(สิ่งที่ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพหรือโรค ) องค์ประกอบหรือปัจจัยทางระบาดวิทยาที่เป็นสาเหตุของการเกิดปัญหาสุขภาพหรือโรค อาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีก็ได้ กายภาพ ( phisical) ความร้อน เย็น แสง สารเคมี (chemical ) มลพิษ สิ่งระคายเคือง ชีวภาพ (biological) เชื้อโรคต่างๆ แมลง พืช

ENVIRONMENT(สิ่งแวดล้อม ) สิ่งที่อยู่รอบตัวที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ การดำรงชีวิต เช่น สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ลักษณะทางสังคม ประเพณี จารีต

Stage of Infectious Disease Stage of susceptibility Stage of presymtomatic disease Stage of clinical disease Stage of disability

Level of Prevention Primary prevention Health promotion Specific Protection Secondary prevention Screening test Early diagnosis and prompth treatment Tertiary prevention Rehabilitation/prevent complication

หลักการป้องกันโรค 10 Prevention 2 0 Prevention 3 0 Prevention Lead time Asymptom Disease Symptomatic Disease No Disease W D Time Complication Disability Death Infected Symptoms Screening test Diagnosed & Treated Technology Management Community Participation Technology Management Community Participation Active Case Finding & Prompt Treatment

Definition of disease in community Endemic disease common in community Sporadic specific disease distribute in some area Epidemic abnormal event in period of time Pandemic disease spreads worldwide

กิจกรรมทางระบาดวิทยา (Activities in epidemiology) การเฝ้าระวัง Epidemiological Surveillance การสอบสวนควบคุมโรคEpidemiological Investigation การศึกษาทางระบาดวิทยา Epidemiological Study

ชนิดการเฝ้าระวัง (Type of Surveillance) Passive Surveillance ( เชิงรับ) routine reporting Active Surveillance (เชิงรุก) specific disease Special Surveillance (พิเศษ) Sentinel Surveillance

การสอบสวนโรค Disease Investigation การสอบสวนโรคเฉพาะราย Individual Case Investigation การสอบสวนการระบาด Outbreak Investigation

วัตถุประสงค์ การสอบสวนโรคเฉพาะราย ยืนยันการวินิจฉัย ทราบปัจจัยเกี่ยวกับการเกิด โรครายนั้น

วัตถุประสงค์ การสอบสวนการระบาด ยืนยันการวินิจฉัย ยืนยันการระบาด ทราบลักษณะการระบาดของโรค ทราบปัจจัยเกี่ยวกับการเกิดโรครายนั้น

ขั้นตอนการสอบสวนโรค ยืนยันการวินิจฉัยโรค :นิยาม ยืนยันการระบาดของโรค วิเคราะห์ลักษณะการระบาด การรายงานการสอบสวนโรค

ยืนยันการวินิจฉัยโรค คำนิยามของโรค ประวัติการเจ็บป่วย (ระยะฟักตัว) อาการทางคลินิก ผลการตรวจทางห้องทดลอง

ยืนยันการระบาด คำนิยามของโรค ประวัติการเจ็บป่วย (ระยะฟักตัว) อาการทางคลินิก ผลการตรวจทางห้องทดลอง พบผู้ป่วยเหมือนกันจำนวนมาก

สถานการณ์ไข้เลือดออก(DHF+DF+DSS) เขต 6 เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน(2539-43), 2544, มค.- พย.2545(สัปดาหที่48) จำนวน(ราย) 11719/26

สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซิส เขต 6 ปี 2543 - 2545 (มค - พย สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซิส เขต 6 ปี 2543 - 2545 (มค - พย.) สัปดาห์ที่ 48 จำนวนป่วย 1976 /25

การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา ยืนยันการวินิจฉัย ยืนยันการระบาด เสนอข้อมูลเชิงพรรณนา เวลา - คน – สถานที่ : ตั้งสมมุติฐาน พิสูจน์สมมติฐาน

พิสูจน์สมมติฐาน ความสอดคล้องกับเหตุปัจจัย ความสอดคล้องกับเวลา ความสอดคล้องเชิงชีววิทยา

อัตราตายตามกลุ่มอายุ Case Fatality Rate Age อัตราตายตามกลุ่มอายุ %

การรายงานการสอบสวนโรค Title Author Abstract Introduction Objective Methodology Result Discussion Suggestion Acknowledgement

การควบคุมโรคติดต่อ Control of Communicable Diseases กวาดล้าง (Eradication) กำจัด (Elimination) ควบคุม (Control)

วิธีการควบคุมโรคติดต่อ กระทำต่อเชื้อก่อโรค กระทำต่อคน กระทำต่อสิ่งแวดล้อม มาตรการทางกฎหมาย

การกระทำต่อเชื้อก่อโรค กำจัดแหล่งรังโรค - พาหะ รักษาเฉพาะโรค การแยกโรค การกักกันโรค

การกักกันโรค โรคหัด - 5 วันหลังมีผื่นขึ้น โรคหัด - 5 วันหลังมีผื่นขึ้น หัดเยอรมัน - 5 วันหลังมีผื่นขึ้น ไข้สุกใส - 7 วันหลังมีผื่นขึ้น ไอกรน - 2 สัปดาห์หลังมีไอกรน คางทูม - ต่อมน้ำลายยุบบวม โปลิโอ - ไม่มีไข้

การกระทำต่อคน เพิ่มภูมิคุ้มกันต่อโรค - Active Immunization - Passive Immunization ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขศึกษา

การกระทำต่อสิ่งแวดล้อม การกำจัดเชื้อก่อโรค Physical - Biological - Chemical การควบคุมแมลงนำโรค การปรับปรุงสุขาภิบาล อาหาร - น้ำดื่ม - น้ำเสีย - ขยะ

การศึกษาทางระบาดวิทยา Epidemiological Study การศึกษาเชิงพรรณนา : ศึกษาการกระจายขององค์ประกอบ เช่น การศึกษาแบบภาคตัดขวาง การศึกษา KAP หาอัตราชุก ( prevalence ) หาอุบัติการณ์ ( incidence ) การศึกษาเชิงวิเคราะห์ : หาความสัมพันธ์ เช่น การศึกษาแบบภาคตัดขวาง เชิงวิเคราะห์ การศึกษาย้อนจากผลไปหาเหตุ (retrospective ; case control ) การศึกษาจากสาเหตุไปหาผล(prospective ; cohort study ) การศึกษาเชิงทดลอง : ใส่องค์ประกอบที่สนใจ