Operators ตัวดำเนินการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Advertisements

รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
บทที่ 1 “จำนวนนับ 1 ถึง 5 และ 0”
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
CSI1201 การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง Structured Programming
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
BC320 Introduction to Computer Programming
สาระที่ 4 พีชคณิต.
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม และตัวดำเนินการ
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
คำสั่ง while ควบคุมการทำงานวนซ้ำ กรณีระบบงานมีลักษณะตรวจสอบเงื่อนไขก่อน แล้วเข้าสู่ส่วนลำดับงานคำสั่งที่กำหนดไว้ การเขียนคำสั่ง while ต้องกำหนดนิพจน์แบบตรรกะเป็นเงื่อนไขมีค่าในหน่วยความจำเป็น.
บทที่ 2 Operator and Expression
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
บทที่ 5 คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
Operators ตัวดำเนินการ
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรและชนิดข้อมูล (Variables and Data Types)
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวดำเนินการ(Operator)
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
บทที่ 4 อัลกอริทึมแบบเรียงลำดับ (Sequential Algorithm)
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นิพจน์และตัวดำเนินการ
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ตัวดำเนินการในภาษาซี
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
บทที่ 4 การใช้ตัวดำเนินการ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การกระทำทางคณิตศาสตร์
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ
รูปแบบของการใช้คำสั่ง for for( ตัวแปร = ค่าเริ่มต้น ; นิพจน์ตรรกะ ; ค่าเพิ่มหรือค่าลด ) { statement(s); } ตัวอย่าง กรณีกำหนดการวนซ้ำเป็นค่าคงที่ For(n=1;n
CHAPTER 2 Operators.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Operators ตัวดำเนินการ บทที่ 4 Operators ตัวดำเนินการ

ความหมาย เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ใช้เชื่อมระหว่างตัวแปรหรือค่าคงที่ในนิพจน์ เพื่อดำเนินการระหว่างตัวแปรหรือค่าคงที่ในนิพจน์ ซึ่งมีหน้าที่เฉพาะแตกต่างกันตามสัญลักษณ์นั้น ๆ

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์

ลำดับการทำงานของ ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ถ้าในนิพจน์หนึ่งตัวมีการกระทำที่มีความสำคัญเท่ากันให้คำนวณตัวดำเนินการจากซ้ายไปขวา

ตัวอย่าง การเขียนนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ 2 + 3 * 4 2 + 4 / (1 - 3) 6 * (8 / (2 - 3) + 2 ^ 5) (3 – 4 * 5) / 6 100 div 15 56 mod 5

ตัวดำเนินการทางการเปรียบเทียบ

ตัวอย่าง การใช้สัญลักษณ์การเปรียบเทียบ x = y a < c + b * 5 b > d c >= a mod 3 y <= z / 10 z <> a - b

ตัวดำเนินการทางตรรกะ T หมายถึง จริง (True) F หมายถึง เท็จ (False)

การเปรียบเทียบเชิงตรรกะ

ลำดับการทำงานของ ตัวดำเนินการทางตรรกะ ลำดับการทำงานของ ตัวดำเนินการทางตรรกะ

ตัวอย่าง การเขียนการเปรียบเทียบเชิงตรรกะ A = NOT (2<y) OR (3<x) X = (a<>b) OR (b=c) AND (c=5) Z = NOT (a<b) AND (b<c) OR NOT (a>c)

ตัวอย่าง ร้านมินิมาร์ทแห่งหนึ่งต้องการแจกคูปองลดราคาสินค้าให้ลูกค่ร้อยละ 10 บาท ซึ่งมีคูปองราคา 5 บาท และ 10 บาท จงเขียนผังงานสำหรับอ่านค่าจำนวนเงินที่ลูกค้าซื้อสินค้าทั้งหมด และคำนวณว่าจะต้องจ่ายคูปองราคาเท่าใด จำนวนเท่าใดให้กับลูกค้า

การคำนวณทางคอมพิวเตอร์ การคำนวณของมนุษย์จะพิจารณาจากซ้ายไปขวาของโจทย์ คอมพิวเตอร์คำนวณตามความสำคัญของเครื่องหมาย มนุษย์อาจเก็บผลลัพธ์หรือตัวทดไว้ในสมอง คอมพิวเตอร์ต้องจัดหาสิ่งที่เรียกว่าตัวแปรมารองรับ

Example โจทย์ให้คำนวณ 5 + 10 / 2 วิเคราะห์ : มีเครื่องหมายคือ + และ / หารมีความสำคัญสูงกว่า ดังนั้นทำหารก่อน ผลคือ 5 + 10 / 2 คำตอบคือ 10 ขั้นที่ 1. คำนวณ 10 / 2 = 5 ขั้นที่ 2. คำนวณ 5 + 5 = 10 1 2

Example คำนวณ ( 100 / 5 ) * 2 ^ 3 = ? ทำในวงเล็บก่อน แล้ว ยกกำลัง ตามด้วยคูณ ( 100 / 5) * 2 ^ 3 ขั้นที่ 1. คำนวณ 100 / 5 = 20 ขั้นที่ 2. คำนวณ 2 ^ 3 = 8 ขั้นที่ 3 คำนวณ 20 * 8 = 160 คำตอบคือ 160 1 2 3

Practice จงคำนวณหาคำตอบ 50 / 5 ^ 2 + (3 - 2) = ? ((4 / 2)^2)*(20 + 8) / 4 = ?

แปลงสูตรให้เป็นการคำนวณ การแปลงสูตรเป็นหน้าที่ของโปรแกรมเมอร์ ที่ต้องแปลงให้ถูกต้องตามลำดับการคำนวณ เพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการ การคำนวณอาจต้องมีการเพิ่มเติมเครื่องหมายเพื่อจัดลำดับของการคำนวณใหม่ ตัวอย่าง ให้คำนวณหาโบนัส ซึ่งเท่ากับ 5 เท่าของเงินเดือน โบนัส = เงินเดือน * 5 ตัวอย่าง ให้คำนวณหาราคาสินค้า 5000 บาทเมื่อรวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 % ราคาสุทธิ = ราคาสินค้า + ราคาสินค้า * 7 / 100 = 5000 + 5000 * 7 / 100 = 5350

Example ให้คำนวณหาราคาสินค้าเมื่อลด 50% ราคาสินค้า 50% = ราคาสินค้า * 50 / 100 ราคาสินค้า 200 บาท ราคาสินค้า = 200 * 50 / 100 = 100 คำว่า % ในสูตรต่างๆ ต้องนำ % คูณกับแหล่งที่มาเสมอ เช่น 50% ของค่าใช้จ่าย = ค่าใช้จ่าย * 50 / 100 10% ของเงินเดือน = เงินเดือน * 10 / 100

Tips การคำนวณยอดชำระสุทธิ ยอดสุทธิ = ยอดชำระก่อนหักส่วนลด - ส่วนลด โดยที่ ยอดชำระก่อนหักสวนลด = ราคา * จำนวน ส่วนลด = ยอดชำระก่อนหัก * ส่วนลด รวม ยอดสุทธิ = (ราคา * จำนวน) - ((ราคา * จำนวน) * ส่วนลด))

Example จงหายอดชำระเมื่อหักส่วนลด 30 % เมื่อซื้อสินค้า 5 ชิ้นราคาชิ้นละ 300 บาท ยอดสุทธิ = (ราคา * จำนวน) - ((ราคา * จำนวน) * ส่วนลด) ยอดสุทธิ = (300 * 5) - ((300 * 5) * 30 / 100) = 1500 - 450 = 1050 บาท

Example จงหายอดชำระเมื่อหักส่วนลด 30 % เมื่อซื้อสินค้า 5 ชิ้นราคาชิ้นละ 300 บาท คิดใหม่จากสูตร ยอดสุทธิ = (ราคา * จำนวน) * (100 - เปอร์เซ็นต์) / 100 ยอดสุทธิ = (ราคา * จำนวน) * 70 / 100 ยอดสุทธิ = (300 * 5 * 70 / 100) = 1050 บาท เท่ากันหรือไม่