Process.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Advertisements

กระบวนการ (Process).
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมแบบ stack และ การผลิตโค๊ด
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
Control structure part II
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
รายละเอียด
ความหมายของซอฟท์แวร์ (Software, Program)
โครงสร้างของกระบวนการ
การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
? คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ อะไรนะ ?
Chapter 1 Introduction to Information Technology
การทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ ผู้สอน ผศ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร chandra. ac
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
CPU ไม่รวม I/O PROCESSOR , MATH CO-PROCESSOR
บทที่ 3 การคำนวณทางคณิตศาสตร์ หน่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์และตรรกะ (ALU)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
Memory Management ในยุคก่อน
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ผู้จัดทำ นางสาว สุทธิดา แสงอุไร มัธยมศึกษาปีที่ 4/2 เลขที่ 27.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
SPECK COMPUTER จัดทำโดย นางสาวแพรไหม หลวงสิงห์ไชย.
การโปรแกรมPLC.
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การจัดการฐานข้อมูล.
บทที่ 3 การจ่ายงาน (Process Management).
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
Interrupt.
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
โครงสร้าง ภาษาซี.
อ.วชิระ หล่อประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
รายละเอียดเกี่ยวกับ Notebook ส่วนประกอบ ต่างๆ CPU ซีพียู ที่สร้างมาสำหรับ Notebook โดยเฉพาะ เน้นเรื่องการประหยัดพลังงาน ลด ความร้อนของซีพียู ทำให้อายุการใช้งานนาน.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การวัดการวิจัยในการตลาด
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
Operating System.
Integrated Network Card
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
การจัดการโปรเซส T.Kunlaya Charoenmongkonvilai
Process.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

process

Process กระบวนการ กระบวนการคือ โปรแกรมที่กำลังทำงานอยู่ มีการทำงานเป็นลำดับ กระบวนการ รวมถึง รีจีสเตอร์ของซีพียู Stack ข้อมูลชั่วคราว Data section

สถานะของกระบวนการ New กระบวนการถูกสร้างขึ้น Ready กระบวนการรอเข้าใช้หน่วยประมวลผล Running กระบวนการกำลังทำตามคำสั่งของโปรแกรม Waiting กระบวนการกำลังรอให้เหตุการณ์บางอย่างเกิดขึ้น Terminate กระบวนการเสร็จสิ้นการทำงาน

PCB (process control box) Os แทนกระบวนการต่างๆ ด้วย pcb ซึ่งจะเก็บรายละเอียดต่างๆของ process

pcb Process state เก็บสถานะของ process Program counter บอกตำแหน่งบรรทัดของ process ที่จะทำงานต่อไป CPU register เก็บข้อมูลต่างๆของ process เมื่อเกิดการขัดจังหว่ะ

pcb CPU scheduling information memory - management information Accounting information i/o status information

Process scheduling Scheduling queue แบบแถวคอย เมื่อกระบวนการเข้าสู่ระบบ จะถูกจัดในแถวคอย ในหน่วยความจำ(disk) เมื่อเข้าสู่หน่วยความจำหลักกระบวนการจะถูกเก็บใน link list แถวพร้อม read queue ซึ่งพร้อมที่จะทำงานใน CPU

Ready Queue And Various I/O Device Queues Operating System Concepts

Representation of Process Scheduling Operating System Concepts แถวคอยที่เป็นตัวแทนของการจัดตารางกระบวนการ

เมื่อกระบวนการเข้าทำงานใน CPU อาจเกิดเหตุการณ์ กระบวนการร้องขออุปกรณ์ รับ ส่งข้อมูล กระบวนการสร้างกระบวนการย่อย และรอจน กระบวนการย่อยทำงานเสร็จ กระบวนการถูกขัดการทำงานโดยระบบ จะถูกหยุดและ ย้ายไปรอในแถวคอย

ตัวจัดตารางการทำงาน กระบวนการจะถูกย้ายจากแถวคอยหนึ่งไปอีกแถวคอนหนึ่งตลอดเวลาที่ กระบวนการทำงานอยู่ ซึ่ง os จะเลือกกระบวนการจากแถวคอยออกมา ตัวจัดตารางระยะยาว เลือกกระบวนการจาก disk สูหน่วยความจำหลัก ตัวจัดตารางระยะสั้น เลือกกระบวนการในแถวพร้อม เข้าใช้ CPU ตัวจัดตารางระยะสั้นจะทำงานบ่อย ทุกๆ10 มิลลิวินาที ตัวจัดตารางระยะยาว จะทำเมื่อมีกระบวนการอกจากระบบ

Addition of Medium Term Scheduling Operating System Concepts

ตัวจัดตารางระยะกลาง ย้ายกระบวนการออกจากหน่วยความจำหลักเพื่อลดจำนวนกระบวนการ ในหน่วยความจำ ทำให้ cpu ทำงานได้ดีขึ้น ซึ่งจะถูกนำกลับมาเมื่อถึง เวลาทีเหมาะสม เรียกว่าการ swapping

การเปลี่ยนงาน คือการเปลี่ยนกระบวนการเข้าทำงานซึ่งจะมีการเก็บค่าของ กระบวนการเดิม และ นำค่าของกระบวนการใหม่เข้ามา

การดำเนินการของกระบวนการ การสร้างกระบวนการ โดยคำสั่งเรียกระบบ การเสร็จสิ้นกระบวนการ

การทำงานร่วมกันของกระบวนการ กระบวนการใน os อาจเป็นกระบวนการอิสระ หรือ กระบวนการที่ทำงานร่วมกัน สิ่งที่ต้องเตรียมถ้าทำงานร่วมกัน การใช้ข้อมูลร่วมกัน แชร์กันได้ การคำนวณรวดเร็วขึ้น แตกงานเป็นส่วนย่อย แต่ต้องมีหลายหน่วยประมวลผล ระบบย่อย สร้างโมดูล หน้าที่ละหนึ่งกระบวนการ ความสะดวกสบาย สามารถทำงานได้หลายๆอย่างพร้อมกัน

การสื่อสารระหว่างกระบวนการ โครงสร้างพื้นฐาน ระบบข่าวสาร send-receive สามารถส่งข้อมูลผ่าน communication link หากันได้

การตั้งชื่อ กระบวนการที่ติดต่อสื่อสารกันสามารถ อ้างอิงได้ทั้งทางตรง และทางอ้อม การสื่อสารโดยตรง ระบุชื่อผู้ส่งผู้รับโดยตรง send(p,message) การสื่อสารทางอ้อมข้อความถูกส่งผ่าน port ไปยังกล่อง รับซึ่งจะมีเฉพาะแต่ละกระบวนการ ถ้าใช้กล่องร่วมกันก็ สามารถติดต่อสื่อสารกันได้

การพักข้อมูล ความจุ ใช้เป็นแหล่งกำหนดการเก็บข้อมูล ความจุแบบศูนย์ ความยาวของแถวเป็นศูนย์ ไม่มีที่เก็บข้อมูล ความจุแบบมีขอบเจต ความจุมีขนาดจำกัด ความจุไร้ขอบเขต

ข้อยกเว้น ข้อความสูญหาย ข้อความเสียหาย