ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

กลไกการวิวัฒนาการ.
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
Physiology of Crop Production
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
หลักปฏิบัติ ๔ ประการ ในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
(quantitative genetics)
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ 1. ความงอก (germination) หรือความมีชีวิต (viability)
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
องค์กรต่างประเทศที่มีบทบาทในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย โชคชัย บุตรครุธ.
วิธีการทางวิทยาการระบาด
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
คำถามทบทวนวิชา
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
ระบบการผลิต ( Production System )
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
สัมมนาวิชาการ Alien species กับการค้าสัตว์ป่า
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
การปลูกพืชผักสวนครัว
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สารสนเทศกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด

แหล่งกำเนิดพันธุ์พืช World map

วาวิลอฟ ชาวรัสเซีย ได้ออกสำรวจพันธุ์พืชทั่วโลก ทำให้ทราบถึงการกระจายพันธุ์ของพืช ได้จัดแหล่งที่พบพันธุ์พืชออกเป็น 9 แหล่งใหญ่ด้วยกัน 5 6 8 4 1 2 7 3 9 World map

1 มิลเล็ท บักวีท ถั่วเหลือง สาลี่ แอปเปิล ท้อ                                                     6 5 8 4 1 2 7 3 9 1 มิลเล็ท บักวีท ถั่วเหลือง สาลี่ แอปเปิล ท้อ

2 ปอกระเจา อ้อย ส้ม ถั่วต่างๆ                                                     6 5 8 4 1 2 7 3 9 2 ปอกระเจา อ้อย ส้ม ถั่วต่างๆ

                                                    6 5 8 4 1 2 7 3 9 3 กล้วย ส้ม ข้าว

4 ข้าวสาลี ถั่ว เลนทิล ถั่วเขียว ชิคพี                                                     6 5 8 4 1 2 7 3 9 4 ข้าวสาลี ถั่ว เลนทิล ถั่วเขียว ชิคพี

5 องุ่น แตงชนิดต่างๆ สาลี่ เชอรี่ วอลนัท อัลมอนด์                                                     6 5 8 4 1 2 7 3 9 5 องุ่น แตงชนิดต่างๆ สาลี่ เชอรี่ วอลนัท อัลมอนด์

                                                    6 5 8 4 1 2 7 3 9 6 มะกอก ผักต่างๆ

                                                    6 5 8 4 1 2 7 3 9 7 ข้าวสาลี ถั่วต่างๆ

8 ข้าวโพด ฝ้าย โกโก้ พริก ฟักทอง                                                     6 5 8 4 1 2 7 3 9 8 ข้าวโพด ฝ้าย โกโก้ พริก ฟักทอง

9 มันฝรั่ง มะเขือเทศ ยาสูบ สับปะรด ถั่งลิสง                                                     6 5 8 4 1 2 7 3 9 9 มันฝรั่ง มะเขือเทศ ยาสูบ สับปะรด ถั่งลิสง

การปรับปรุงพันธุ์ การที่มีพันธุ์ต่างอยู่หลายกลุ่ม ทำให้เกิดงานที่เรียกว่า germplasm collection ซึ่งจุดประสงค์ของการรวบรวมพันธุ์นี้ เพื่อให้นักปรับปรุงพันธุ์สามารถใช้ประโยชน์จากพันธุ์ที่มีอยู่ได้เต็มที่

การรวบรวมพันธุ์พืช ข้าว International Rice Research Institute (IRRI), ลอสบานอส ฟิลิปปินส์ ข้าวโพด Center International de Mejoramento de Maize y Trigo (CIMMYT) เมืองเอลบาทาน เมกซิโก

การรวบรวมพันธุ์ มันฝรั่ง International Potato Center เมืองลิมา เปรู ผัก Asian Vegetable Research and Development Center (AVRDC) ไต้หวัน Royal Botanic Garden at Kew

การรวบรวมพันธุ์ Institute National de Recherche Agronomique เมืองแวร์ซายล์ส ฝรั่งเศส Foundation for Agricultural Breeding เมืองวาเกนนิเกน เนเธอร์แลนด์ National Agricultural Research Center Yatabe เมืองซูกูบะ ญี่ปุ่น

ความหลากหลายทางพันธุกรรม วิวัฒนาการ Evolution สิ่งมีชีวิต A สิ่งมีชีวิต B เวลา สภาพแวดล้อม การคัดเลือกโดยธรรมชาติ การกลายพันธุ์

การปรับปรุงพันธุ์ กระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แหล่งที่มาของพันธุ์ที่จะนำมาใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ พันธุ์ป่า พบในธรรมชาติ ไม่มีการคัดเลือกโดยมนุษย์ เป็นพันธุ์ที่ปรับตัวในสภาพธรรมชาติได้ดีแล้ว

การปรับปรุงพันธุ์ 2. Landraces พันธุ์ปลูกที่มนุษย์ได้มีการปลูกมาช้านานแล้ว แต่ในปัจจุบัน ไม่ได้มีการปลูกเป็นการค้าแล้ว

การปรับปรุงพันธุ์ 3. ลูกผสม เป็นพันธุ์ที่ได้มาจากการผสมพันธุ์ ไม่ว่าจะเป็นการผสมตามธรรมชาติหรือมนุษย์เป็นผู้ทำขึ้น

รูปแบบการถ่ายทอด การถ่ายทอดลักษณะต่างๆของพืช ขึ้นอยู่กับยีนที่ควบคุม และผลของสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการแสดงออกของยีนนั้นๆ 1

ปัจจัยที่มีผลต่อการแสดงออกของลักษณะ (Phenotype, P) ปัจจัยทางพันธุกรรม (Genotype, G) ปัจจัยของสิ่งแวดล้อม (Environment, E) P = G + E

ปัจจัยทางพันธุกรรม ลักษณะทางเชิงคุณภาพ (Qualitative inheritance) ควบคุมด้วยยีนจำนวนน้อย มองเห็นได้ชัดเจน ลักษณะทางเชิงปริมาณ (Quantitative inheritance) ควบคุมด้วยยีนหลายตัว (polygenes)

ปัจจัยของสภาพแวดล้อม เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการคัดเลือกลักษณะที่ต้องการสูงมาก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะที่มีการถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ Heritability, H = G G + E H มีค่าอยู่ระหว่าง 0 - 1

Heritability Heritability, H = G G + E

ค่าความแปรปรวน ในงานการปรับปรุงพันธุ์ ต้องมีการทดสอบผลของการประเมินลักษณะต่างๆที่ทำการคัดเลือกด้วย โดยใช้วิธีการทางสถิติมาเป็นตัวชี้วัด ได้มาจากการศึกษาที่มีจำนวนซ้ำมากๆ ทำให้เกิดความแม่นยำของผลที่ได้ และเป็นการลดผลอันเนื่องมาจากสภาพแวดล้อมด้วย