เรื่อง การเขียนรายงาน วิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนรายงาน นำเสนอโดย นางนิตยา ทองดียิ่ง
เรื่อง การเขียนรายงาน เรื่อง การเขียนรายงาน จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนรู้และเข้าใจความหมายของการเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า ๒. นักเรียนสามารถเขียนรายงาน ได้ตรงตามหลักการ ๓. นักเรียนสามารถค้นคว้าแหล่งข้อมูลเพื่อนำมาอ้างอิงกับรายงาน ๔. นักเรียนมีเจตคติที่ดี และมีนิสัยรักการเขียน และมีมารยาท ในการเขียน
เรื่อง การเขียนรายงาน เรื่อง การเขียนรายงาน มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นคว้า อย่ามีประสิทธิภาพ
เรื่อง การเขียนรายงาน เรื่อง การเขียนรายงาน แบบทดสอบก่อนเรียน ๑. ข้อใดคือความหมายของสารบัญ ก. ส่วนที่บอกว่าตำแหน่งของข้อมูล หรือเรื่องราวต่างๆ วางอยู่ตรงไหนของรายงาน ข. วางอยู่ถัดจากปกใน เป็นข้อความกล่าวเกรินเพื่อให้ ผู้อ่านเข้าใจขอบเขตและที่มาของการทำรายงานนั้นๆ ค. ส่วนที่เป็นเนื้อหาต่างๆ ง. ส่วนที่จะโยงเข้าสู้เนื้อเรื่องทำให้เกิดความสนใจ อยากติดตาม
เรื่อง การเขียนรายงาน เรื่อง การเขียนรายงาน แบบทดสอบก่อนเรียน ๒. ข้อใดคือความหมายของคำนำ ก. ส่วนที่บอกว่าตำแหน่งของข้อมูล หรือเรื่องราวต่างๆ วางอยู่ตรงไหนของรายงาน ข. วางอยู่ถัดจากปกใน เป็นข้อความกล่าวเกรินเพื่อให้ ผู้อ่านเข้าใจขอบเขตและที่มาของการทำรายงานนั้นๆ ค. ส่วนที่เป็นเนื้อหาต่างๆ ง. ส่วนที่จะโยงเข้าสู้เนื้อเรื่องทำให้เกิดความสนใจ อยากติดตาม
เรื่อง การเขียนรายงาน เรื่อง การเขียนรายงาน แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของรายงาน ก. ปกนอก ข. คำนำ ค. สารบัญ ง. ปากกา
เรื่อง การเขียนรายงาน เรื่อง การเขียนรายงาน แบบทดสอบก่อนเรียน ๔. ข้อใดคือความหมายของเนื้อเรื่อง ก. ส่วนที่บอกว่าตำแหน่งของข้อมูล หรือเรื่องราวต่างๆ วางอยู่ตรงไหนของรายงาน ข. วางอยู่ถัดจากปกใน เป็นข้อความกล่าวเกรินเพื่อให้ ผู้อ่านเข้าใจขอบเขตและที่มาของการทำรายงานนั้นๆ ค. ส่วนที่เป็นเนื้อหาต่างๆ ง. ส่วนที่จะโยงเข้าสู้เนื้อเรื่องทำให้เกิดความสนใจ อยากติดตาม
เรื่อง การเขียนรายงาน เรื่อง การเขียนรายงาน แบบทดสอบก่อนเรียน ๕. ข้อใดคือความหมายของการเขียนรายงาน ก. การติดต่อสื่อสารด้วยหนังสือที่เขียนส่งไปมาถึงกัน โดยผ่านผู้รับส่ง ข. เป็นการเขียนโฆษณาชวนเชื่อ ค. การนำใจความสำคัญของเรื่องมาเรียบเรียงใหม่ เพื่อให้ สั้น กระชับ และเข้าใจง่าย เพื่อให้สะดวกในการอ่าน ง. การเขียนเรียบเรียงสิ่งที่พบเห็นหรือได้กระทำมา เพื่อรวบรวมข้อมูลนำเสนอ