คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมและการชน.
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Basic wave theory.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
เครื่องเคาะสัญญาณ.
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นผิวน้ำ.
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
การแปรผันตรง (Direct variation)
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
กาแล็กซีและเอกภพ.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
863封面 ทองคำ เขียว.
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ สั่น เช่น ถ้าขว้างก้อนกินลงในแม่น้ำ พลังงานจากก้อนหินจะ ถูกถ่ายทอดไปยังอนุภาคของน้ำ ณ บริเวณที่ก้อนหินตกกระทบ พลังงานถ่ายทอดสู่น้ำจะทำให้อนุภาคของน้ำเกิดการสั่นขึ้นลง แล้วจึงถ่ายทอดไปยังอนุภาคใกล้เคียงต่อไป คลื่น (วินาที/ลูก) 5.4 อัตราเร็วของคลื่น(Velocity) ใช้สัญลักษณ์ v หมายถึง ระยะที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ในเวลา 1 วินาที จากความสัมพันธ์การเคลื่อนที่ v = s ( s คือระยะทางหรือความยาวคลื่น l) t และ f = 1 ดังนั้นความเร็ว v = l f มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที

ชนิดของคลื่น สามารถจำแนกคลื่นโดยใช้เกณฑ์ต่างๆได้ดังนี้ ตัวอย่างที่ 2 คลื่นขบวนหนึ่งสามารถผ่านจุดๆหนึ่งได้ 800 ลูก ในเวลา 10 วินาที คลื่นนี้มีคาบและความถี่เท่าไร วิธีทำ หาคาบของคลื่น( วินาที/ลูก) คลื่นจำนวน 800 ลูก ใช้เวลา 10 วินาที ถ้าคลื่นจำนวน 1 ลูก ใช้เวลา = 10 x 1 = 0.0125 วินาที 800 หาความถี่ของคลื่น(ลูก/วินาที) คลื่นใช้เวลา 10 วินาที เคลื่อนที่ได้ 800 ลูก ถ้าคลื่นใช้เวลา 1 วินาที จะเคลื่อนที่ได้ = 800 x 1=80 Hz 10 ตัวอย่างที่ 1 คลื่นขบวนหนึ่งเกิดจากแหล่งกำเนิด 200 ลูก ภายในเวลา 5 วินาที จะมี ความถี่เท่าไร วิธีทำ จากสมการ f = 1 T แทนค่าในสมการ f = 200 5 ความถี่ของคลื่นมีค่า 40 Hz หมายความว่าใน 1 วินาที มีจำนวนลูกคลื่น 40 ลูก ตัวอย่างที่ 3 คลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ได้ 100 เมตร ภายในระยะเวลา 4 วินาที จะมีความเร็ว เท่าไร วิธีทำ จากสมการความสัมพันธ์ v = l t แทนค่าจะได้ว่า v = 100/4 = 25 m/s ตัวอย่างที่ 4 คลื่นลูกหนึ่งมีความยาวคลื่น 50 เมตร เคลื่อนที่ด้วย ความถี่ 2 Hz จะมีความเร็วเท่าไร วิธีทำ จากสมการความสัมพันธ์ v = lf แทนค่าในสมการ v = 50x 2= 100 m/s คลื่นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 100 เมตร/วินาที

คุณสมบัติของคลื่น 1. การสะท้อนของคลื่น 2. การหักเหของคลื่น มุมตกกระทบ 1. การสะท้อนของคลื่น  การสะท้อนของคลื่นหมายถึง   การเปลี่ยนทิศทางการเดินทางของคลื่น โดยทันทีทันใดเมื่อคลื่นนั้นเดินทาง ตกกระทบที่ผิวของตัวกลาง นั่นคือ คลื่นกระดอนออกจากผิวสะท้อน ของตัวกลาง ในลักษณะเดียวกับแสง สะท้อนจากกระจกเงา 2. การหักเหของคลื่น การหักเหของคลื่นวิทยุเกิดขึ้นเมื่อคลื่นวิทยุเดินทางจากตัวกลางหนึ่ง ไปยัง อีกตัวกลางหนึ่งที่มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าไม่เหมือนกัน โดยที่มุมตกกระทบ ณ ตัวกลางที่สองไม่เป็นมุมฉาก พลังงานคลื่นส่วนหนึ่งจะสะท้อนกลับเข้า ไปยังตัวกลางที่หนึ่ง โดยมีมุมตกเท่ากับมุมสะท้อน แต่ยังมีพลังงานคลื่นอีก ส่วนหนึ่งเดินทางเข้าไปยังตัวกลางที่สอง การเดินทางเข้าไปยังตัวกลางที่สอง นี้ จะไม่เป็นแนวเส้นตรงต่อไปจากแนวทางเดินในด้านตัวกลางแรก แต่จะ หักเหออกไปมากน้อยขึ้นอยู่กับคุณสมบัติทางไฟฟ้าของตัวกลางทั้งสอง สาเหตุที่เกิดการหักเหของทางเดินของคลื่นวิทยุ เนื่องจาก ความเร็วของคลื่น วิทยุในตัวกลาง ที่มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าแตกต่างกันจะไม่เท่ากัน เช่น คลื่น วิทยุจะเดินทางในน้ำบริสุทธิ์จะช้ากว่าเดินทางในอากาศถึง 9 เท่า เป็นต้น    มุมสะท้อน ภาพแสดงการสะท้อนของคลื่น 3. การแทรกสอด การแทรกสอดของคลื่นเกิดจากการที่คลื่นมีลักษณะเหมือนกัน ทุกประการมาซ้อนทับกันตามลักษณะการรวมกันของคลื่น ภาพแสดงการหักเหของคลื่นผ่านสองตัวกลาง ตำแหน่งที่มีการแทรกสอด ภาพแสดงสะท้อนและการหักเหของคลื่น ชนิดของการแทรกสอด 1. การแทรกสอดแบบเสริมกัน คือ สันคลื่นกับสันคลื่นเคลื่อนที่ มาเจอกันทำให้ได้คลื่นที่มีขนาดใหญ่กว่าเดิม 2. การแทรกสอดแบบหักล้างกัน คือการที่สันคลื่นเคลื่อนที่มา เจอกับท้องคลื่นอีกลูกหนึ่ง จะทำให้คลื่นมีขนาดเล็กลง

4.