การมองเห็น และความผิดปกติของตา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
Advertisements

หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
สื่อประกอบการเรียนรู้
โครงการแว่นสายตาสภากาชาดไทยเพื่อเด็กนักเรียนในชนบท
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
รถยนต์ตกน้ำจะเอาตัวรอดได้อย่างไร
โดย นางสาวจิรวดี แก้วเจริญ
โครโมโซม.
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
บทที่ 4 ระบบทางทัศนศาสตร์พื้นฐาน
ตาและการมองเห็น กระจกตา - โฟกัสภาพ - ระยะโฟกัสคงที่ เลนส์ตา - โฟกัสภาพ
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
ระบบประสาท (Nervous System)
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
รายงานสุขศึกษา เรื่อง : โรคคอพอก ส่ง อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย 1. ด. ญ
โรคเอสแอลอี.
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เลนส์.
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
การคัดเลือก “ควายงาม” ตามอุดมคติ หรืออุดมทัศนีย์ (Ideal type)
นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เลนส์นูน.
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
DNA สำคัญอย่างไร.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
Suporn Patcharatakul,M.D.
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
Cancer.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ต่อการส่งเสริมสุขภาพตา
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
การจัดองค์ประกอบของภาพ
โรคเบาหวาน ภ.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
กล้องโทรทรรศน์.
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
การใช้คอมพิวเตอร์อย่างถูกวิธี
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แว่นกรองแสง (Light Filter)
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การมองเห็น และความผิดปกติของตา จัดทำโดย....ครูเจริญ พหลทัพ

หัวข้อ การมองเห็น อาหารบำรุงสายตา ความผิดปกติของตา การถนอมดวงตา เลซิค วิธีการแก้ไขสายตาผิดปกติ การถนอมดวงตา เลซิค

ตามองเห็นได้จากขั้นตอนดังต่อไปนี้ แสง แสง กระจกตา (Cornea) รูม่านตา (Pupil) น้ำวุ้นตา (Vitreous humor) เลนส์แก้วตา (Lens) จอรับภาพ (Retina) ประสาทตา (Optic nerve) การมองเห็น สมอง

สรีรวิทยาของการเห็นภาพ เมื่อมีแสงมากระตุ้นเซลล์รูปแท่ง พลังงานจากการดูดกลืนแสงของโรดอปซิน จะทำให้โมเลกุลของเรติแนล (retinal) เปลี่ยนแปลงโครงสร้างจนเกาะกับโมเลกุลของออปซินไม่ได้ในขณะเดียวกันจะเกิดกระแสประสาทเดินทางไปยังเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 เพื่อส่งกระแสประสาทต่อไปยังสมองให้แปลเป็นภาพ และเมื่อไม่มีแสง ออปซินและเรติแนล(retinal) จะรวมตัวกันเป็นโรดอปซินใหม่

สายตาผิดปกติ โรคเกี่ยวกับดวงตา ความผิดปกติของดวงตา สายตาผิดปกติ โรคเกี่ยวกับดวงตา

สายตาสั้น สายตายาว สายตาผิดปกติ สายตาเอียง ตาบอดสี

สายตาสั้น (Myopia) เป็นภาวะที่มองเห็นภาพที่อยู่ไกลไม่ชัด เนื่องจากแสงผ่านกระจกตาและเลนส์ตามาโฟกัสหน้าจอประสาทตา และมองเห็นวัตถุใกล้ได้ชัดเจน เนื่องจากแสงจากวัตถุจะไปโฟกัสที่จอประสาทได้พอดี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระดับความสั้นของตา แก้ไขโดย ใส่แว่นที่ทำจากเลนส์เว้า หรือใส่คอนแทคเลนส์

(Hyperopia /Hypermetropia) สายตายาว (Hyperopia /Hypermetropia) เป็นภาวะที่แสงผ่านที่กระจกตาและเลนส์มาโฟกัสหลังจอประสาทตา ร่างกายสามารถแก้ไขให้ชัดโดยใช้เลนส์ตาช่วยปรับโฟกัส โดยใช้การเพ่ง (Accomodation) ตลอดเวลา เมื่ออายุมากขึ้นกำลังการเพ่งจะลดลง แก้ไขโดย ใส่แว่นที่ทำจากเลนส์นูน หรือใส่คอนแทคเลนส์

สายตาเอียง (astigmatism) การที่กระจกตามีความโค้งในแต่ละแนวไม่เท่ากัน ทำให้ตาไม่สามารถจะโฟกัสแสงในแต่ละแกน ให้เป็นจุดเดียวกัน แก้ไขโดย ใส่แว่นที่มีกำลังของเลนส์ในแกนหนึ่งมากกว่าอีกแกนหนึ่ง หรือการใช้เลนส์สัมผัส หรือใส่คอนแทคเลนส์ สาเหตุของสายตาเอียงอีกอย่างคือ การที่มีก้อนเนื้อมากดลูกตา ทำให้กระจกตาเบี้ยวหรือเอียงไป แก้ไขโดย รักษาที่สาเหตุที่มาดึงหรือกดกระจกตานั้น

ตาบอดสี (Color blindness) คือ ภาวะการมองเห็นสีผิดปกติ ส่วนใหญ่เป็นการบอดสีแต่กำเนิด เพราะเป็นการถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบลักษณะด้อยบนโครโมโซมเพศ ทำให้มี cones ไม่ครบ 3 ชนิด ส่วนใหญ่จะขาด red cones โดยความผิดปกติจะเกิดขึ้นกับตาทั้ง 2 ข้าง และแก้ไขไม่ได้ ตาบอดสีอาจเกิดจากโรคของประสาทตาก็ได้ นอกจากนี้ ยาบางชนิดอาจทำให้เห็นภาพสีผิดปกติได้