2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
การเขียนผังงาน.
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน (ดอน)
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
Algorithms.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
ภาษาคอมพิวเตอร์.
ซอฟต์แวร์.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software design and development) 4 (3-2-6)
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 2 วิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
Surachai Wachirahatthapong
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
โปรแกรมการคำนวณพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
System Development Lift Cycle
Flow Chart INT1103 Computer Programming
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
Geographic Information System
2.3 ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การพัฒนาระบบประยุกต์
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
Debugging กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่2 การพัฒนาโปรแกรมและการออกแบบขั้นตอนวิธี (Program development and algorithm design) 2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods) 2.2 วัฎจักรของการพัฒนาโปรแกรม (Program Development Cycle ) 2.3 ขั้นตอนวิธี (Algorithm ) 2.4 ตัวอย่างการวิเคราะห์โจทย์การเขียนรหัสเทียม และการเขียนผังงาน

2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ ต้องเข้าใจถึงงานหรือปัญหาเป็นอย่างไร มีขั้นตอนมีความเป็นมาอย่างไร ข้อมูลจะเข้าสู่งานหรือระบบได้อย่างไร ้ ข้อมูลมีการประมวลผลอย่างไร ผลลัพธ์ที่ได้จากการทำงานคืออะไร ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้ง่ายและสะดวกขึ้น

2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ ข้อมูลถูกต้องรวดเร็ว เมื่อข้อมูลเหล่านั้นถูกนำมาประมวลผล จะทำให้ได้สารสนเทศเพื่อการควบคุมการดำเนินงาน การวางแผน การตัดสินใจ เพิ่มศักยภาพในการบริหารและจัดการองค์กร

2.2 วัฎจักรของการพัฒนาโปรแกรม การกำหนดปัญหา ( Defining the problem) การวางแผนเกี่ยวกับการแก้ปัญหา (Planning the solution) การเขียนเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding the program) การทดสอบโปรแกรม (Testing the program) การจัดทำเอกสารประกอบโปรแกรม (Documenting the program)

2.2.1 การกำหนดปัญหา เป็นการวิเคราะห์ปัญหา ต้องทำความเข้าใจกับปัญหา กำหนดให้ได้ว่าปัญหาหรือโจทย์คืออะไร โจทย์ต้องการอะไร ทำอย่างไรจึงจะแก้ปัญหานั้นได้

เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ หรือคำตอบที่เราต้องการ เราจะทำ ความเข้าใจเกี่ยวกับ 2.2.1 การกำหนดปัญหา เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ หรือคำตอบที่เราต้องการ เราจะทำ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ผลลัพธ์ (Output) ปัญหาหรือโจทย์ต้องการผลลัพธ์อะไร ข้อมูลเข้า (Input) ข้อมูลอะไรที่ต้องการ ที่จำเป็นในการ ทำงาน

การประมวลผล (Process) เป็นวิธีการประมวลผล จะนำ ข้อมูลเข้ามาทำอย่างไรเพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการ รูปที่ 2.1 แสดงพื้นฐานการไหลของข้อมูล การประมวลผล ข้อมูลเข้า ผลลัพธ์

ตัวอย่าง โปรแกรมต้องการให้หาพื้นที่วงกลม ผลลัพธ์ พื้นที่วงกลม การประมวลผล พื้นที่วงกลมคำนวณได้จากสูตร 3.1415 x รัศมี x รัศมี ข้อมูลเข้า รัศมีของวงกลม

2.1.2 การวางแผนเกี่ยวกับการแก้ปัญหา หาแนวทางในการแก้ปัญหา เป็นการอธิบายการทำงานที่ชัดเจนเพื่อเป็นแนวทางการเขียนโปรแกรม ในการแก้ปัญหานั้นเราจะแยกย่อย หรือแตกปัญหาเป็นงานย่อย ๆ เป็นขั้นตอน เพื่ออธิบายการทำงาน เราเรียกวิธีการเขียนนี้ว่า ขั้นตอนวิธี ( algorithm)

2.1.2 การวางแผนเกี่ยวกับการแก้ปัญหา การเขียนขั้นตอนวิธี เป็นการเขียนที่มีลักษณะเป็นขั้น เป็นตอน มีลำดับการทำงานที่ชัดเจน เทคนิคหรือเครื่องมือที่อื่นๆ เช่น การเขียนผังงาน การเขียนรหัสเทียม มีรายละเอียดในหัวข้อ 2.3

2.2.3 การเขียนเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ เป็นการเขียนเป็นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง

2.2.3 การเขียนเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ พิจารณาจากลักษณะ หรือประเภทของงาน งานทางธุรกิจ มีการประมวลผลข้อมูลควรเลือกใช้ ภาษาโคบอล อาร์พีจี งานทางด้านวิทยาศาสตร์ มีการคำนวณมาก เลือกใช้ภาษาปาสคาล ฟอร์แทรน ซี เป็นต้น

2.2.4 การทดสอบโปรแกรม การตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของคำสั่งหรือตัวโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา เพื่อหาข้อผิดพลาด (Bug) ของโปรแกรม เมื่อทราบข้อผิดพลาดจะได้แก้ไข (Debug) ให้ถูกต้อง

ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนโปรแกรม มี 3 ชนิด 1. ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ (Syntax error) เกิดเนื่องจากเขียนคำสั่งของภาษาไม่ถูกตามหลักไวยากรณ์ ข้อผิดพลาดนี้โปรแกรมจะหยุดการทำงาน พบได้ในช่วงแปลโปรแกรม (Compile Time) 2. ข้อผิดพลาดเมื่อมีการทำงาน (Runtime error) เกิดจากวิธีการเขียนโปรแกรม เช่น การหารด้วยศูนย์ ชนิดข้อมูลไม่ถูกต้อง ข้อผิดพลาดนี้โปรแกรมจะหยุดการปฏิบัติการ พบได้ในช่วงการปฎิบัติงานโปรแกรม (Execution Time)

3. ข้อผิดพลาดทางตรรกะ (Logical error) เกิดเนื่องจากผู้เขียนเขียนผิดขั้นตอน ผู้เขียนตีความหมายของปัญหาผิด ข้อผิดพลาดนี้โปรแกรมจะไม่หยุดการทำงาน แต่จะให้ได้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง

ดังนั้น จึงต้องมีการทดสอบการทำงานของโปรแกรม ว่าถูกต้อง เป็นไปตามที่เราต้องการหรือไม่ วิธีการหนึ่งที่นิยมใช้กันคือ การสร้างข้อมูลทดสอบ (Test data) เป็นการจำลองข้อมูลขึ้นมาให้คล้ายข้อมูลจริง มีโอกาสเกิดข้อผิดพลาดได้ทุกแง่ทุกมุม

2.2.5 การจัดทำเอกสารประกอบโปรแกรม จัดทำเอกสารต่างๆ ที่ใช้กำกับ อธิบายโปรแกรม ช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรมทำงานได้สะดวกขึ้น เช่น คู่มือปฎิบัติงานเครื่อง (Operation Manual) คู่มือผู้ใช้ (User Manual) ปัจจุบันเอกสารประกอบโปรแกรม มีอยู่ในหลายสื่อ เช่น มีอยู่ในซอฟต์แวร์ ได้แก่ คำอธิบาย (Help Function) โปรแกรมสาธิต(Demo Program) เป็นต้น