ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ขั้นตอนวิธีการ การเก็บตัวอย่างดิน 1) เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกพืช ให้กระจายทั่วแปลงประมาณ 10–30 จุดต่อแปลง เก็บตัวอย่างดินระดับความลึกเท่ากับระดับไถพรวน.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง กำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยสมุนไพรธรรมชาติ
ปุ๋ยชีวภาพ Organicfertilizer
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
การปลูกพืชกลับหัว.
วิธีเพาะเมล็ดไผ่ (สามารถใช้กับไผ่ได้ทุกชนิด)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
************************************************
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
ขั้นตอนการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า ในข้าวสุก
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ข้อควรระวัง ! ในการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด
วิธีหมัก หมัก 3 วัน เติมออกซิเจน.
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
1.ด.ญ.ธนากร อยู่คง 3.ด.ช.วธัญญู อู่นาท 4.ด.ญ.วราภรณ์ เมืองแก้ว
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง

วิธีการสกัด การสกัดสะเดาด้วยน้ำ การสกัดสะเดาด้วยเอทธิลอัลกอฮอล์

วิธีการสกัดสะเดาด้วยน้ำ หมัก 1-2 วัน เมล็ดสะเดาบด 1 ก.ก. + น้ำ 20 ลิตร คั่นเอากากออก น้ำสกัดสะเดา 20 ลิตร

ประมาณ 3-4 ครั้งต่อเนื่อง การนำไปใช้ น้ำสกัดสะเดา 5 ลิตร น้ำสะอาด 200 ลิตร + + สารจับใบ ฉีดพ่นทุก 5-7 วัน/ ครั้ง ประมาณ 3-4 ครั้งต่อเนื่อง

การสกัดด้วยเอทธิลอัลกอฮอล์ วัสดุอุปกรณ์ เมล็ดสะเดาบด 5 ก.ก. เหล้าขาว 6 ขวด น้ำสะอาด 7 ลิตร น้ำส้มสายชู 5% 1 ขวด ภาชนะสำหรับหมัก

+ น้ำส้มสายชู 5% 1 ขวด

3. เติมน้ำส้มสายชู 5% ½ ขวด วิธีการสกัด มีดังนี้ 1. นำสะเดาบด 5 กก. มาผสมกับเอทธิลแอลกอฮอล์ 95% หรือเหล้าขาว จำนวน 4 ขวด และน้ำส้มสายชู 5% ½ ขวด ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วหมักในภาชนะ ปิดฝาให้สนิท ทิ้งไว้ 1 คืน 3. เติมน้ำส้มสายชู 5% ½ ขวด 1. เทสะเดาบดในถังหมัก 2. เติมเหล้าขาว 4 ขวด 4. ใช้ไม้คน

2. นำสะเดาที่หมักแอลกอฮอล์ ตามข้อ 1 2. นำสะเดาที่หมักแอลกอฮอล์ ตามข้อ 1. มาผสมรวมกับน้ำสะอาด จำนวน 5 ลิตร หมักทิ้งไว้ 3 วัน เติมน้ำ 5 ลิตร

3. เมื่อหมักตามข้อ 2. เสร็จแล้ว นำมากรองเอาเฉพาะของเหลวที่ได้ (น้ำสกัด 1) ใส่ภาชนะทึบแสงปิดฝาให้สนิท เก็บไว้ในที่ร่ม กรองน้ำสกัดที่ 1

4. นำกากสะเดาที่ได้ไปหมักกับแอลกอฮอล์ 40% (เหล้าขาว) 2 ขวด, น้ำส้มสายชู ½ ขวด และน้ำสะอาด 2 ลิตร วิธีการหมักเหมือนเดิมทุกขั้นตอน แล้วกรองเอาเฉพาะของเหลว (น้ำสกัด 2) 3. เติมน้ำ 2 ลิตร 1. เติมเหล้าขาว 2 ขวด 4. กรองน้ำสกัดที่ 2 2. เติมน้ำส้มสายชู 5% ½ ขวด

สารสกัดสะเดาพร้อมใช้งาน 5. หลังจากนั้น นำกากสะเดาบดที่เหลือไปหว่านในแปลงพืชผัก หรือโคนไม้ผล เพื่อใช้ประโยชน์ในการป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ในกรณีที่ยังมีสารที่เป็นประโยชน์ตกค้างอยู่ และเมื่อกากสะเดาเน่าเปื่อยก็จะกลายเป็นปุ๋ยให้กับพืชต่อไป 6. นำของเหลวที่ได้จากข้อ 3 และ ข้อ 4 (น้ำสกัด 1 และ 2) มาผสมรวมกัน แล้วผสมสารจับใบตามฉลากคำแนะนำ แล้วนำไปใช้ได้เลย กรองใส่ขวด สารสกัดสะเดาพร้อมใช้งาน

การนำไปใช้ พืชผัก 30-40 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร + สารจับใบ พืชผัก 30-40 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร + สารจับใบ ไม้ผล 80-100 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร + สารจับใบ นาข้าว 60-80 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร + สารจับใบ

1. กรณีใช้ป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ใช้ 60-80 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 5-7 วัน/ ครั้ง ติดต่อกัน 3-4 ครั้ง 2. กรณีศัตรูพืชระบาด ใช้ 80-100 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 3-5 วัน/ ครั้ง ติดต่อกัน 3-4 ครั้ง 1. ในขณะฉีดพ่น ควรปรับหัวฉีดให้เป็นฝอยแล้วฉีดแค่เปียกไม่ต้องโชก ฉีดพ่นในช่วงแสงแดดอ่อนหรือช่วงเย็นเท่านั้น ทุกครั้งต้องผสมสารจับใบ ข้อ ควรระวัง

วิธีการเก็บรักษาผลและเมล็ดสะเดา

1. เก็บในลักษณะผลแห้ง ผึ่งตากแดด 1 อาทิตย์ เมล็ดสะเดาสุก 1. เก็บในลักษณะผลแห้ง ผึ่งตากแดด 1 อาทิตย์ ผึ่งในร่ม 2-3 อาทิตย์ เมล็ดสะเดาสุก บรรจุกระสอบเก็บไว้ใช้

2. เก็บในรูปเมล็ดแห้ง เมล็ดสะเดาสุก เครื่องแยกเมล็ดสะเดาออกจากเนื้อ

เชื้อราไตรโคเดอร์มา เป็นเชื้อราชั้นสูง สร้างเส้นใยสีขาว มีสปอร์สีเขียว เป็นเชื้อราชั้นสูง สร้างเส้นใยสีขาว มีสปอร์สีเขียว เจริญได้ดีในดิน เศษซากพืช ซากสิ่งมีชีวิต รวมทั้ง จุลินทรีย์และอินทรียวัตถุตามธรรมชาติ เป็นปฏิปักษ์กับเชื้อราโรคพืชหลายชนิด

กลไกการต่อสู้กับเชื้อโรคพืช 1. การแข่งขันกับเชื้อโรคพืช

2. การเป็นปรสิต โดยการพันรัดเส้นใยเชื้อราโรคพืช. - ไคติเนส (chitinase) 2. การเป็นปรสิต โดยการพันรัดเส้นใยเชื้อราโรคพืช - ไคติเนส (chitinase) - เบต้า-1,3 กลูคาเนส (β-1,3 glucanase) - เซลลูเลส (cellulase)

3. สร้างปฏิชีวนสาร

เพิ่มการเจริญเติบโต/ ผลผลิต ประโยชน์ของเชื้อราไตรโคเดอร์มา ลดกิจกรรมเชื้อโรค เพิ่มความต้านทานโรค ลดปริมาณเชื้อโรค เพิ่มการเจริญเติบโต/ ผลผลิต

โรครากเน่าโคนเน่าทุเรียน

โรครากเน่าโคนเน่าส้ม