ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
วิธีการสกัด การสกัดสะเดาด้วยน้ำ การสกัดสะเดาด้วยเอทธิลอัลกอฮอล์
วิธีการสกัดสะเดาด้วยน้ำ หมัก 1-2 วัน เมล็ดสะเดาบด 1 ก.ก. + น้ำ 20 ลิตร คั่นเอากากออก น้ำสกัดสะเดา 20 ลิตร
ประมาณ 3-4 ครั้งต่อเนื่อง การนำไปใช้ น้ำสกัดสะเดา 5 ลิตร น้ำสะอาด 200 ลิตร + + สารจับใบ ฉีดพ่นทุก 5-7 วัน/ ครั้ง ประมาณ 3-4 ครั้งต่อเนื่อง
การสกัดด้วยเอทธิลอัลกอฮอล์ วัสดุอุปกรณ์ เมล็ดสะเดาบด 5 ก.ก. เหล้าขาว 6 ขวด น้ำสะอาด 7 ลิตร น้ำส้มสายชู 5% 1 ขวด ภาชนะสำหรับหมัก
+ น้ำส้มสายชู 5% 1 ขวด
3. เติมน้ำส้มสายชู 5% ½ ขวด วิธีการสกัด มีดังนี้ 1. นำสะเดาบด 5 กก. มาผสมกับเอทธิลแอลกอฮอล์ 95% หรือเหล้าขาว จำนวน 4 ขวด และน้ำส้มสายชู 5% ½ ขวด ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วหมักในภาชนะ ปิดฝาให้สนิท ทิ้งไว้ 1 คืน 3. เติมน้ำส้มสายชู 5% ½ ขวด 1. เทสะเดาบดในถังหมัก 2. เติมเหล้าขาว 4 ขวด 4. ใช้ไม้คน
2. นำสะเดาที่หมักแอลกอฮอล์ ตามข้อ 1 2. นำสะเดาที่หมักแอลกอฮอล์ ตามข้อ 1. มาผสมรวมกับน้ำสะอาด จำนวน 5 ลิตร หมักทิ้งไว้ 3 วัน เติมน้ำ 5 ลิตร
3. เมื่อหมักตามข้อ 2. เสร็จแล้ว นำมากรองเอาเฉพาะของเหลวที่ได้ (น้ำสกัด 1) ใส่ภาชนะทึบแสงปิดฝาให้สนิท เก็บไว้ในที่ร่ม กรองน้ำสกัดที่ 1
4. นำกากสะเดาที่ได้ไปหมักกับแอลกอฮอล์ 40% (เหล้าขาว) 2 ขวด, น้ำส้มสายชู ½ ขวด และน้ำสะอาด 2 ลิตร วิธีการหมักเหมือนเดิมทุกขั้นตอน แล้วกรองเอาเฉพาะของเหลว (น้ำสกัด 2) 3. เติมน้ำ 2 ลิตร 1. เติมเหล้าขาว 2 ขวด 4. กรองน้ำสกัดที่ 2 2. เติมน้ำส้มสายชู 5% ½ ขวด
สารสกัดสะเดาพร้อมใช้งาน 5. หลังจากนั้น นำกากสะเดาบดที่เหลือไปหว่านในแปลงพืชผัก หรือโคนไม้ผล เพื่อใช้ประโยชน์ในการป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ในกรณีที่ยังมีสารที่เป็นประโยชน์ตกค้างอยู่ และเมื่อกากสะเดาเน่าเปื่อยก็จะกลายเป็นปุ๋ยให้กับพืชต่อไป 6. นำของเหลวที่ได้จากข้อ 3 และ ข้อ 4 (น้ำสกัด 1 และ 2) มาผสมรวมกัน แล้วผสมสารจับใบตามฉลากคำแนะนำ แล้วนำไปใช้ได้เลย กรองใส่ขวด สารสกัดสะเดาพร้อมใช้งาน
การนำไปใช้ พืชผัก 30-40 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร + สารจับใบ พืชผัก 30-40 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร + สารจับใบ ไม้ผล 80-100 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร + สารจับใบ นาข้าว 60-80 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร + สารจับใบ
1. กรณีใช้ป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ใช้ 60-80 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 5-7 วัน/ ครั้ง ติดต่อกัน 3-4 ครั้ง 2. กรณีศัตรูพืชระบาด ใช้ 80-100 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 3-5 วัน/ ครั้ง ติดต่อกัน 3-4 ครั้ง 1. ในขณะฉีดพ่น ควรปรับหัวฉีดให้เป็นฝอยแล้วฉีดแค่เปียกไม่ต้องโชก ฉีดพ่นในช่วงแสงแดดอ่อนหรือช่วงเย็นเท่านั้น ทุกครั้งต้องผสมสารจับใบ ข้อ ควรระวัง
วิธีการเก็บรักษาผลและเมล็ดสะเดา
1. เก็บในลักษณะผลแห้ง ผึ่งตากแดด 1 อาทิตย์ เมล็ดสะเดาสุก 1. เก็บในลักษณะผลแห้ง ผึ่งตากแดด 1 อาทิตย์ ผึ่งในร่ม 2-3 อาทิตย์ เมล็ดสะเดาสุก บรรจุกระสอบเก็บไว้ใช้
2. เก็บในรูปเมล็ดแห้ง เมล็ดสะเดาสุก เครื่องแยกเมล็ดสะเดาออกจากเนื้อ
เชื้อราไตรโคเดอร์มา เป็นเชื้อราชั้นสูง สร้างเส้นใยสีขาว มีสปอร์สีเขียว เป็นเชื้อราชั้นสูง สร้างเส้นใยสีขาว มีสปอร์สีเขียว เจริญได้ดีในดิน เศษซากพืช ซากสิ่งมีชีวิต รวมทั้ง จุลินทรีย์และอินทรียวัตถุตามธรรมชาติ เป็นปฏิปักษ์กับเชื้อราโรคพืชหลายชนิด
กลไกการต่อสู้กับเชื้อโรคพืช 1. การแข่งขันกับเชื้อโรคพืช
2. การเป็นปรสิต โดยการพันรัดเส้นใยเชื้อราโรคพืช. - ไคติเนส (chitinase) 2. การเป็นปรสิต โดยการพันรัดเส้นใยเชื้อราโรคพืช - ไคติเนส (chitinase) - เบต้า-1,3 กลูคาเนส (β-1,3 glucanase) - เซลลูเลส (cellulase)
3. สร้างปฏิชีวนสาร
เพิ่มการเจริญเติบโต/ ผลผลิต ประโยชน์ของเชื้อราไตรโคเดอร์มา ลดกิจกรรมเชื้อโรค เพิ่มความต้านทานโรค ลดปริมาณเชื้อโรค เพิ่มการเจริญเติบโต/ ผลผลิต
โรครากเน่าโคนเน่าทุเรียน
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม