มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
Advertisements

ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
กระบวนการจัดการความรู้
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
VISION MISSION STRATEGIC MAP. วิสัยทัศน์ (VISION) งานสารสนเทศ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ เป็นศูนย์ สารสนเทศงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Hybrid.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบายเร่งรัดการส่งเสริมการเกษตร พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๒
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ภารกิจถ่ายโอน บริการข้อมูลและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการ ผลิต การตลาด เทคโนโลยี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
การดำเนินงานการบริหารศัตรูพืช
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
หลักสูตร การผลิตพืชตามระบบ การรับรองมาตรฐาน GAP
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
บริการตรวจวิเคราะห์ สารพิษตกค้าง เพื่อสนับสนุนความมั่นใจให้แก่ เกษตรกรเมื่อดำเนินการผลิตตาม คำแนะนำของเจ้าหน้าที่แล้ว ผลผลิต ที่ได้จะไม่มีสารพิษตกค้าง.
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
สรุปงานที่ ต้องทำต่อ ศูนย์เทคโนโลยีและการสื่อสาร กองแผนงาน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริม การเกษตร.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร ( 2552 – 2554 ) วิสัยทัศน์ มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน

พันธกิจ ส่งเสริมการผลิตและบริการปัจจัยเพื่อการพัฒนาคุณภาพสินค้า ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรให้ใช้เทคโนโลยีการผลิตสินค้าที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ส่งเสริมและเผยแพร่มาตรฐานสินค้าเกษตร

พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการผลิตและบริการปัจจัยเพื่อการพัฒนาคุณภาพสินค้า ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรให้ใช้เทคโนโลยีการผลิตสินค้าที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ส่งเสริมและเผยแพร่มาตรฐานสินค้าเกษตร การส่งเสริมระบบการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน การจัดการศัตรูพืชเพื่อลดความเสี่ยงแก่เกษตรกรและปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนาคุณภาพสินค้าและลดต้นทุนการผลิต

การส่งเสริมระบบการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมระบบการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน “เกษตรกรสามารถผลิตพืชอย่างเป็นระบบตามมาตรฐานสากล”.

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมระบบการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน GAP เกษตรอินทรีย์ พัฒนาบุคลากร & กระบวนการทำงาน ฐานข้อมูลเกษตรอินทรีย์ หลักสูตร / คู่มือ / GAP online / Group cert. อบรมให้คำปรึกษาเกษตรกร เตรียมความพร้อมเกษตรกรเข้าสู่ระบบ ตรวจประเมินแปลงเบื้องต้น พัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP ส่งเสริม contract farming อบรม / ให้คำปรึกษา / ตรวจประเมินแปลงเบื้องต้น / ประกาศนียบัตร ปชส.สินค้าเกษตรอินทรีย์

การจัดการศัตรูพืชเพื่อลดความเสี่ยงแก่เกษตรกรและปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการศัตรูพืชเพื่อลดความเสี่ยงแก่เกษตรกรและปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม “เกษตรกร / ชุมชนสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตนเอง อย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม”.

การจัดการศัตรูพืชเพื่อลดความเสี่ยงแก่เกษตรกรและปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการศัตรูพืชเพื่อลดความเสี่ยงแก่เกษตรกรและปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม ศึกษามาตรฐานด้านสุขอนามัยพืช พัฒนาเกษตรกร และสร้างเครือข่ายด้านการจัดการศัตรูพืช สำรวจ/วิเคราะห์/เฝ้าระวัง/วางแผนจัดการศัตรูพืช ส่งเสริมการใช้สารเคมีที่ถูกต้องและปลอดภัย จัดตั้งเขตส่งเสริมการควบคุมศัตรูพืช ส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตและใช้ชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและชุมชน/บูรณาการเทคโนโลยี ถ่ายทอดความรู้การควบคุมศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน

การพัฒนาคุณภาพสินค้าและลดต้นทุนการผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพสินค้าและลดต้นทุนการผลิต “เกษตรกร ได้รับการพัฒนาคุณภาพผลผลิต และใช้ปัจจัยการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ”. (พันธุ์ดี ปุ๋ยอินทรีย์ – เคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน)

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพสินค้าและลดต้นทุนการผลิต พัฒนาการผลิต / ควบคุมศัตรูผักผลไม้เพื่อการส่งออก เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการปัจจัยการผลิตแก่เกษตรกร พัฒนา / เสริมสร้างองค์ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน / เครือข่าย

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพสินค้าและลดต้นทุนการผลิต พัฒนาการผลิต / ควบคุมศัตรูผักผลไม้เพื่อการส่งออก รวบรวม ศึกษาวิจัย การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตเพื่อการส่งออก ติดตามให้คำปรึกษา ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กลุ่มพัฒนาคุณภาพผัก/ผลไม้ ส่งเสริม contract farming ผลิตสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพสินค้าและลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการปัจจัยการผลิตแก่เกษตรกร สำรวจ/รวบรวมความต้องการใช้ปัจจัยการผลิต ส่งเสริม / สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ พัฒนาประสิทธิภาพ / ศักยภาพของเทคโนฯด้านผลิต / บริการปัจจัย สร้างเครือข่ายเชื่อมโยงผู้ผลิต

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพสินค้าและลดต้นทุนการผลิต พัฒนา / เสริมสร้างองค์ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน / เครือข่าย การผลิตขยาย / การใช้พืชพันธุ์ดี / การใช้ปุ๋ยอินทรีย์-เคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน / การฉายรังสีผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว เจ้าหน้าที่ เกษตรกร / กลุ่มเกษตรกร / เครือข่าย