IV > Feasibility Study (การศึกษาความเป็นไปได้)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Workshop. Workshop 1 • แบ่งกลุ่มนักศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ในฐานะที่กลุ่มของท่านเป็นผู้บริหาร ระดับกลาง ได้รับมอบหมายจาก ผู้บริหารระดับสูงให้ทำการพัฒนา ปรับปรุงระบบงานสารสนเทศในความ.
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
DFD Level 0 เป็นขั้นตอนการสร้าง DFD โดยการแตกแยกย่อย Process ออกมาเป็น Process ย่อย ๆ และแสดงแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด Aj.Wichan Hongbin.
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
05/06/54 วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องความหมายและองค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล.
การเขียนผังงาน.
หน่วย 6 การพัฒนาสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
การจัดหา การติดตั้ง และการบำรุงรักษาระบบ
Object-Oriented Analysis and Design
การควบคุมข่ายงาน (PERT/CPM)
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
SCC : Suthida Chaichomchuen
Analyzing The Business Case
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การบริหารโครงการ (Project anagement)
สัมมนาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Process Analysis 2 การวิเคราะห์กระบวนการ
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
แผนภาพ KEY PROCESS หน่วยงาน สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ยุทธศาสตร์ที่1 พัฒนาระบบเทคโนโลยีทางการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน.
System Development Lift Cycle
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow.
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
Flow Chart INT1103 Computer Programming
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
6 VI > Report Design (การออกแบบรายงาน) Computer Department
5 V > System Analysis (การวิเคราะห์ระบบ) Information Technology
III > Problem Recognition (การศึกษาปัญหา โอกาส และเป้าหมาย)
(การลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล)
II > วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
IV > Critical Path Method (CPM)
6 VI > Report Design (การออกแบบรายงาน) Information Technology
DFD Level 0 เป็นขั้นตอนการสร้าง DFD โดยการแตกแยกย่อย Process ออกมาเป็น Process ย่อย ๆ และแสดงแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด Aj.Wichan Hongbin.
Information Technology
5 V > System Analysis (การวิเคราะห์ระบบ) Information Technology
Information Technology
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ซีเควนซ์ไดอะแกรม(Sequence Diagram)
หลักการแก้ปัญหา.
การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ.
ผังงาน (Flow chart).
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
โครงการเทคนิคและเทคโนโลยีสนับสนุนงานตรวจสอบ “Risk & Control” จัดโดย สำนักงานตรวจสอบภายใน จุฬาฯ วันที่ 22 กรกฎาคม 2553.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

IV > Feasibility Study (การศึกษาความเป็นไปได้) Information Technology 4 IV > Feasibility Study (การศึกษาความเป็นไปได้) Aj.Wichan Hongbin

2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) กำหนดว่าปัญหาคืออะไร และตัดสินใจว่าจะพัฒนาสร้างระบบสารสนเทศใหม่ หรือแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมมีความเป็นไปได้หรือไม่ โดยเสียค่าใช้จ่ายและเวลาน้อยสุด Aj.Wichan Hongbin

ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 1. ความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค (Technical Feasibility) 2. ความเป็นไปได้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) 3. ความเป็นไปได้ทางด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) Aj.Wichan Hongbin ประเมินจาก 4 ด้าน ต้นทุนการพัฒนาระบบ เช่น Hardware, Software, ทีมงาน, ลิขสิทธิ์ ต้นทุนการปฏิบัติงาน เช่น เงินเดือนผู้ปฏิบัติงาน ผลตอบแทนที่สามารถประเมินค่าได้ เช่น ยอดขายที่เพิ่มขึ้น, ลดต้นทุน ผลตอบแทนที่ไม่สามารถประเมินค่าได้ เช่น ความพึงพอใจของลูกค้า, การบริการที่ดี สามารถนำเสนอสารสนเทศได้ถูกต้อง ระบบตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ระยะเวลาในการพัฒนาใหม่ยาวนานเท่าไร มีผลกระทบต่อขั้นตอนการปฏิบัติงานหรือไม่ ต้องปลดพนักงานหรือไม่ จะมีผลกระทบอะไรกับพนักงานที่ถูกปลด มีความเสี่ยงต่อภาพพจน์ของบริษัทด้านใดบ้าง จำเป็นต้องจัดหาอุปกรณ์ใหม่หรือไม่ อุปกรณ์ที่จัดหามาสามารถรองรับเทคโนโลยีในอนาคตได้หรือไม่ ฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์เข้ากันได้หรือไม่ ทีมงานมีความเชี่ยวชาญในการนำเทคโนโลยีที่มีอยู่มาใช้งานได้หรือไม่

ต้นทุนการพัฒนาระบบ (Development Costs) ค่าแรงงาน เช่น ค่าวิเคราะห์และออกแบบ, ค่าเขียนโปรแกรม, ค่าออกแบบเว็บ ค่าที่ปรึกษาภายนอก ค่าฝึกอบรมทีมพัฒนา ค่าฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ค่าติดตั้งระบบ ค่าแปลงข้อมูล ค่าพื้นที่สำนักงานและอุปกรณ์สำนักงาน Aj.Wichan Hongbin

ต้นทุนการปฏิบัติงาน (Operational Costs) ค่าอัปเกรดซอฟต์แวร์ ค่าลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ ค่าซ่อมแซมอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ค่าอัปเกรดฮาร์แวร์ ค่าแรงงานทีมปฏิบัติการ เช่น ค่าเว็บมาสเตอร์, ค่าช่างเทคนิคเครือข่าย ค่าระบบการสื่อสาร ค่าฝึกอบรมของผู้ใช้งาน Aj.Wichan Hongbin

ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ตัวอย่าง cost-benefit ในการพัฒนาระบบภายใน 4 ปี ค่าใช้จ่าย ปีเริ่มต้น ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ในการพัฒนาระบบ 150,000 - เมื่อปฏิบัติงาน 40,000 42,000 50,000 65,000 รวมค่าใช้จ่าย 190,000 232,000 282,000 347,000 ผลประโยชน์ 60,000 80,000 120,000 ผลประโยชน์ตั้งแต่ต้น 140,000 260,000 410,000

Cash Flow Analysis (วิเคราะห์กระแสเงินสด) คำอธิบาย ปีที่ 1 ปีที่ 2 ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 รายได้ 5,000 20,000 24,960 31,270 39,020 การพัฒนาซอฟต์แวร์ 10,000 พนักงาน 8,000 8,400 8,800 9,260 9,700 ฝึกอบรม 3,000 6,000 ค่าเช่าอุปกรณ์ 4,000 ค่าซื้ออุปกรณ์ 1,000 2,000 2,370 2,990 3,730 ค่าบำรุงรักษา 2,200 2,420 2,660 ต้นทุนทั้งหมด 26,000 27,400 17,370 18,670 20,090 กระแสเงินสด -21,000 -7,400 7,590 12,600 18,930 กระแสเงินสดสะสม -28,400 -20,810 -8,210 10,720 Aj.Wichan Hongbin

แบบทดสอบ Cash Flow Analysis คำอธิบาย ปีที่ 1 ปีที่ 2 ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 รายได้ 30,000 45,000 55,000 60,000 70,000 การพัฒนาซอฟต์แวร์ - ค่าเว็บมาสเตอร์ 10,000 11,000 ค่าที่ปรึกษาภายนอก 5,000 ค่าลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ 2,000 ค่าซื้ออุปกรณ์ 1,000 2,370 2,990 3,730 ค่าบำรุงรักษา 500 1,500 ต้นทุนทั้งหมด กระแสเงินสด กระแสเงินสดสะสม Aj.Wichan Hongbin

การบริหารโครงการ หมายถึง การรู้จัดการวางแผน และควบคุมโครงการให้โครงการนั้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ และเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล Aj.Wichan Hongbin

สาเหตุสำคัญที่ส่งผล ต่อความล้มเหลวในโครงการซอฟต์แวร์ ขาดการศึกษาความเป็นไปได้ที่ดีพอ ความต้องการที่รวบรวมมา ไม่ชัดเจนหรือไม่สมบูรณ์ ขาดการประสานงานที่ดีระหว่าง ผู้ใช้กับ SA ขาดการควบคุมที่ดี ผู้ใช้ไม่ยอมรับในระบบ ระบบทำงานผิดพลาดบ่อยครั้ง ความไม่ชำนาญงานของนักวิเคราะห์ระบบ นโยบายของผู้บริหารไม่ชัดเจน Aj.Wichan Hongbin

ผังแกนท์ (Gantt Chart) หมายถึง แผนภาพที่เขียนแทนงานต่าง ๆ ของโครงการในรูปกราฟแท่ง โดยใช้แกน Y แทนงานต่าง ๆ และแกน X แทนเวลาในการทำงาน ข้อเสียของ Gantt Chart คือ ไม่สามารถแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่างๆ และไม่สามารถบอกได้ว่าถ้ากิจกรรมที่เกิดขึ้นก่อนหน้าเกิดความล่าช้าแล้วจะมีผลกระทบกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นทีหลังอย่างไร แกน Y แกน X Aj.Wichan Hongbin

เครื่องมือสนับสนุนการออกแบบและพัฒนาระบบ Aj.Wichan Hongbin

ตารางปฏิบัติงาน Aj.Wichan Hongbin

ตารางปฏิบัติงาน Aj.Wichan Hongbin

ขั้นตอนการสร้าง Gantt Chart สร้างกราฟกำหนดแกน Y แทนงาน และแกน X แทนระยะเวลา แกน Y เขียนชื่องานเรียงลำดับจากบนลงมาล่าง แกน X เขียนระยะเวลาแบ่งเป็นช่วง ๆ ละเท่า ๆ กัน สร้างกราฟแท่งของแต่ละกิจกรรมตามช่วงระยะเวลาที่กำหนด ดังนี้ - เลือกกิจกรรมที่เริ่มต้นได้ทันทีมาสร้างก่อน - เลือกกิจกรรมที่สามารถต่อท้ายกิจกรรมอื่นได้เป็นลำดับต่อไป - กรณีต้องต่อท้ายกิจกรรมอื่น ตั้งแต่ 2 กิจกรรมเป็นต้นไป ให้สร้างต่อท้ายกิจกรรมที่เสร็จช้าที่สุด Aj.Wichan Hongbin

สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 15 วัน ตัวอย่าง A B C D E 7 3 2 15 8 2 4 6 8 10 12 14 16 สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 15 วัน Aj.Wichan Hongbin

สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 16 วัน ตัวอย่าง A B C D E F G 5 2 8 6 13 15 16 2 4 6 8 10 12 14 16 สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 16 วัน Aj.Wichan Hongbin

แบบฝึกหัด ข้อที่ 1) ข้อที่ 2) Aj.Wichan Hongbin

สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 20 วัน เฉลยข้อที่ 1) A B C D E F G 2 5 7 11 18 20 8 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 20 วัน Aj.Wichan Hongbin

สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 21 วัน เฉลยข้อที่ 2) A B C D E F 10 7 19 11 16 21 5 10 15 20 25 30 สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 21 วัน Aj.Wichan Hongbin

แผนภาพเพิร์ธ (Pert Diagram) คือ แผนภาพที่เขียนแทนงาน โดยแต่ละงานต้องเขียนกำกับด้วยโหนด (Node) เริ่มต้นงาน และใช้เส้นลูกศรกำหนดทิศทางการดำเนินงานของโครงการ 10 Node (โหนด) Aj.Wichan Hongbin

หลักเกณฑ์การสร้าง Pert Diagram 1. สร้าง Node กำหนดจุดเริ่มต้น และกำหนดหมายเลขกำกับ Node 10 2. ลากเส้นลูกศร และกำหนดจุดสิ้นสุด โดยเริ่มจากกิจกรรมที่เริ่มต้นได้ทันที่ ที่ไม่ต้องรอกิจกรรมอื่น เหนือเส้นลูกศรระบุชื่องาน และระยะเวลา คั่นด้วยเครื่องหมาย , A,4 10 20 Aj.Wichan Hongbin

3. กรณีมีกิจกรรมที่สามารถเริ่มต้นได้มากกว่า 1 กิจกรรม ให้ใช้จุดเริ่มต้นจุดเดียวกัน 30 D,2 10 20 A,4 4. เลือกกิจกรรมที่สามารถสร้างต่อท้ายกิจกรรมที่สร้างไว้ก่อนหน้า C,2 30 40 D,2 10 20 A,4 Aj.Wichan Hongbin

5. กรณีมีกิจกรรมที่ต้องต่อท้ายตั้งแต่ 2 กิจกรรมเป็นต้นไป เช่น งาน B เริ่มหลังจากงาน C,A ให้รวมโหนดของกิจกรรม C,A แล้วลากเส้นสร้างกิจกรรม B C,2 B,2 30 40 50 D,2 10 20 A,4 งาน F เริ่มหลังจากงาน B,E ให้รวมโหนดของกิจกรรม B,E แล้วลากเส้นสร้างกิจกรรม F C,2 B,2 F,1 30 40 50 70 D,2 10 20 A,4 E,1 60 Aj.Wichan Hongbin

6. กรณีมีจุดสิ้นสุดมากกว่า 1 จุด ให้เลือกจุดใดจุดหนึ่งเป็นจุดสิ้นสุด ส่วนจุดที่เหลือให้นำมารวมกัน 80 K,3 C,2 B,2 F,1 30 40 50 70 D,2 10 20 A,4 E,1 60 K,3 C,2 B,2 F,1 30 40 50 70 D,2 10 20 A,4 E,1 60 Aj.Wichan Hongbin

7. รวมโหนดที่เชื่อมด้วยเส้นปะเป็นโหนดเดียวกัน แล้วเรียงลำดับเลขของโหนดใหม่เพื่อความสวยงาม K,3 C,2 B,2 F,1 30 40 50 70 D,2 10 20 E,1 A,4 60 K,3 C,2 B,2 F,1 20 30 40 50 D,2 10 A,4 E,1 Aj.Wichan Hongbin

B,3 60 10 20 D,8 C,2 30 40 50 A,5 E,5 Aj.Wichan Hongbin

B,3 60 10 20 D,8 C,2 30 40 50 A,5 E,5 B,3 10 20 D,8 C,2 30 40 50 A,5 E,5 Aj.Wichan Hongbin

เส้นทางที่ 1 C - A - D = 2 + 5 + 8 = 15 วัน B,3 10 20 D,8 C,2 30 40 50 A,5 E,5 10 B,3 D,8 C,2 30 40 50 A,5 E,5 เส้นทางที่ 1 C - A - D = 2 + 5 + 8 = 15 วัน เส้นทางที่ 2 B - E = 3 + 5 = 8 วัน เส้นทางที่ 3 B - D = 3 + 8 = 11 วัน เส้นทางที่ 4 C-A-E = 2 + 5 + 5 = 12 วัน *เส้นวิกฤต คือ C-A - D Aj.Wichan Hongbin เส้นทางวิกฤต (Critical) หมายถึง เส้นทางที่ใช้เวลาในการดำเนินกิจกรรมรวมของโครงการนานที่สุด และกิจกรรมที่อยู่บนเส้นทางวิกฤตจะเรียกว่า “กิจกรรมวิกฤต (Critical Activity)” เส้นทางและกิจกรรมวิกฤตจะทำให้ผู้บริหารสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สำเร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ได้

ข้อที่ 1) A,2 B,3 10 20 30 C,5 D,4 E,7 F,2 40 50 60 70 G,1 70 Aj.Wichan Hongbin

ข้อที่ 1) A,2 B,3 10 20 30 F,2 C,5 D,4 E,7 40 50 60 70 G,1 70 A,2 10 20 B,3 F,2 C,5 D,4 E,7 40 50 60 70 G,1 Aj.Wichan Hongbin

10 20 40 50 60 70 เส้นทางที่ 1 A – B – E - F = 2+3+7+2 = 14 วัน C,5 D,4 E,7 F,2 40 50 60 70 G,1 เส้นทางที่ 1 A – B – E - F = 2+3+7+2 = 14 วัน เส้นทางที่ 2 A– C– D – E - F = 2+5+4+7+2 = 20 วัน เส้นทางที่ 3 A– C– G - F = 2+5+1+2 = 10 วัน เส้นวิกฤติ คือ A– C– D – E – F Aj.Wichan Hongbin

ข้อที่ 2) B,7 A,3 10 20 30 C,8 F,2 D,4 40 50 70 E,5 60 Aj.Wichan Hongbin

B,7 A,3 10 20 30 C,8 F,2 D,4 40 50 70 E,5 60 A,3 B,7 10 20 C,8 F,2 D,4 40 50 70 E,5 Aj.Wichan Hongbin

ข้อที่ 3) ข้อที่ 4) Aj.Wichan Hongbin

P 9 - Q 12 R 3 S 7 R,Z T 11 X 8 Y 14 Z 5 T,Y งาน ระยะเวลา (วัน) เริ่มหลังจากงาน P 9 - Q 12 R 3 S 7 R,Z T 11 X 8 Y 14 Z 5 T,Y แบบฝึกหัด ๑.จงสร้าง Gantt Chart ๒. จงสร้าง Pert Diagram และ หา Critical Path Aj.Wichan Hongbin

A 2 - B 3 C 5 D 1 G,I E F G 4 C,F H I 7 J 6 งาน ระยะเวลา เริ่มหลังจากงาน A 2 - B 3 C 5 D 1 G,I E F G 4 C,F H I 7 J 6 แบบทดสอบ ๑.จงสร้าง Gantt Chart ๒. จงสร้าง Pert Diagram และ หา Critical Path Aj.Wichan Hongbin