การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การทำทบทวนวรรณกรรมหรือวรรณกรรมปริทัศน์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
หน่วยการเรียนเรื่อง ป้ายนิเทศเพื่อการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
หลักการพัฒนา หลักสูตร
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การประเมินผลแผนงานสื่อสาร
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวัดผล (Measurement)
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การออกแบบและการประยุกต์ใช้ หลักสูตรเว็บออนไลน์ เพื่อการเรียนรู้ทางไกล On the Design and Application of an Online Web Course for Distance Learning.
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ADDIE Model.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
การนำเสนอข้อมูล โดย นางสาวเสริมพร บุญเลิศ นักศึกษาปริญญาโท สาขาหลักสูตรและ การสอน รุ่น 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โมเดล KM star *************************
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย เมืองเทโทโว สาธารณรัฐมาซิโดเนีย

สิ่งที่การทำวิจัยนี้สนใจ วัตถุประสงค์หลักของการทำวิจัย มุ่งเน้นกลุ่มนักศึกษาและการสำรวจตามเว็บถูกนำมาใช้เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมที่ e - learning ผู้วิจัยใช้เป็นการกำหนดตัวชี้วัดของ e - learning ที่มี อิทธิพลต่อคุณภาพโดยรวม ความคิดและความสนใจเกี่ยวกับ e - learning สิ่งที่การทำวิจัยนี้สนใจ พัฒนาตัวชี้วัดที่มีมาก่อนหน้านี้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์หลักของการทำวิจัย เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเผยแพร่ความรู้ของ e-learning โดยการกำหนดตัวชี้วัดให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถใช้ได้ทุกสภาพแวดล้อม ข้อเสนอแนะของตัวชี้วัดอยู่ในรูปแบบที่ใช้ในวงกว้างสามารถปรับใช้ได้กับทุก สภาพแวดล้อมของ e-learning

Key words E-Learning การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ indicators ตัวชี้วัด enhanced learning การเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้

บทนำ การออกแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสม ทำให้สามารถประเมินและวัดผลการเรียนรู้ของนักเรียนได้ การออกแบบการเรียนการสอนต้องยืดหยุ่นได้ วัตถุประสงค์เพื่อการวิเคราะห์เปรียบเทียบตัวชี้วัดและผลลัพธ์ของ e-learning โดยสรุปที่จะถูกใช้อย่างกว้างขวาง

ตัวชี้วัดของ e-learning ตัวชี้วัด e - learning มีการประเมินและการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับ สภาพแวดล้อมเสมือนจริง โดยซอฟแวร์ Angel Learning Management System-LMs

ภาพรวมของการสำรวจ หลักทั่ว ๆ ไปของการออกแบบ : ผู้ชมหรือผู้ใช้งาน + จุดประสงค์หรือความต้องการ = การออกแบบ การสำรวจครั้งนี้แบ่งเป็น 17 ส่วน ครอบคลุมเนื้อหาของ e-learning ตามข้อมูลที่กล่าว มาแล้วข้างต้น ตัวชี้วัดกำหนดไว้ก่อนหน้านี้มีทั้งหมด 23 คำถาม ตัวชี้วัดถูกแจ้งให้ทราบผ่านลิงค์ไปยังผู้เกี่ยวข้องบนเว็บบอร์ด ซึ่งเป็นระบบ e-service ของมหาวิทยาลัย ข้อมูลถูกเก็บโดย Angel Learning Management System และวิเคราะห์เพิ่มเติมโดย โปรแกรม Excel

การวิเคราะห์ผลสำรวจและผลลัพธ์ เพราะว่าการวิจัยนี้มีข้อจำกัด เราจึงพูดถึงการวิจัยในมหาวิทยาลัยของเราเท่านั้น และได้ วิเคราะห์ตัวชี้วัดที่สำคัญหลายตัวแล้วว่ามีความสำคัญ วิเคราะห์ของตัวบ่งชี้: อุปสรรค - ขอบเขต วิเคราะห์ของตัวบ่งชี้: หลักสูตรที่เหมาะสมเพื่อการเรียนรู้

ตัวชี้วัด 1. อุปสรรค

ตัวชี้วัด 2. เวลาที่เหมาะสมที่สุดในการเรียนรู้

ตัวชี้วัด 3. รูปแบบเนื้อหา

ตัวชี้วัด 4. เวลาที่ดีที่สุดสำหรับการเรียนออนไลน์

ตัวชี้วัด 5. การตั้งค่า E – Learning

ตัวชี้วัด 6. การเข้าถึงสื่อการเรียนรู้

สรุป การใช้วิธีการที่จะประสบความสำเร็จนั้น เราสรุปได้ว่าเพื่อที่จะประสบความสำเร็จใน การทำ e-learning ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวหรือแนวทางแบบเดียวกับสำหรับผู้เรียนทุกคน การเรียนรู้ต้องมีนำไปประยุกต์ใช้กับการให้บริการการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลและ จำเป็นต้องสนับสนุนการเรียนรู้ตามการตั้งค่าที่ผู้เรียนเลือก

1.งานวิจัยนี้เกี่ยวข้องกับ IS ของเรายังไง ใช้งานวิจัยนี้เพื่อทำการสำรวจกลุ่มเป้าหมายก่อนการทำ e-learning 2.ผู้ทำวิจัยมีแรงจูงใจอะไรในการทำวิจัยชิ้นนี้ เจอปัญหาอะไร แล้วสนใจศึกษาในเรื่องอะไร มุ่งเน้นกลุ่มนักศึกษาและการสำรวจตามเว็บถูกนำมาใช้เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมที่ e - learning ผู้วิจัยใช้เป็นการกำหนดตัวชี้วัดของ e - learning ที่มีอิทธิพล ต่อคุณภาพโดยรวม ความคิดและความสนใจเกี่ยวกับ e - learning 3.ผู้ทำวิจัยใช้เทคนิคอะไรในการทำวิจัย การวิจัยเชิงคุณภาพและการวิเคราะห์เปรียบเทียบของตัวชี้วัด e - learning ที่มีอิทธิพลต่อการ เรียนรู้

4.งานวิจัยนี้ค้นพบอะไร การจะทำ e-learning ที่ประสบความสำเร็จไม่มีเกณฑ์ทั่วไปหรือแนวทางเดียวกันสำหรับ ผู้เรียนทุกคนสามารถนำมาใช้ แต่การบริการการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลมีความจำเป็นต่อ การสนับสนุนผู้เรียนให้ตรงความต้องการของแต่ละคนได้โดยกำหนดจากการตั้งค่าของ ผู้เรียนเอง 5.งานวิจัยนี้ช่วยงานของเราได้อย่างไร มีแนวทางในการสำรวจกลุ่มเป้าหมาย และกำหนดตัวชี้ก่อนการทำ e-learning 6.ทำไมเราถึงเลือกงานวิจัยนี้ การสำรวจกลุ่มเป้าหมายเพื่อหาตัวชี้วัดที่เหมาะสมกับงานของตน