Solubilization and its application

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
“Non Electrolyte Solution”
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
Pure Life Cleansing Milky Lotion
Pure Life Cleansing Gel.
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
Introduction to Enzymes
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดาวอังคาร (Mars).
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
พันธะเคมี Chemical bonding.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารไวต่อปฏิกิริยาเคมี
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
Emulsifying Agent.
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Amino Acids and Proteins
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
สมบัติทางเคมีของเอมีน
1. การจัดแยกประเภทของเสียในห้องปฏิบัติการ 2
โครงงานทดสอบประสิทธิภาพของนม
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
ความหลากหลายของพืช.
Alkyl halide Alkyl halide หรือ Aryl halide มีสูตรทั่วไป คือ R - X หรือ Ar - X มีความสำคัญในด้านต่าง ๆ เช่น ใช้เป็นยาฆ่าแมลง ยาปฏิชีวนะ.
โครงการพัฒนามาตรฐานการจัดทำฉลากเคมีภัณฑ์
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
Geographic Information System
ระบบฐานความรู้ “สัตว์ป่าสงวน”
เตาไมโครเวฟ.
กลุ่มที่1 กลุ่ม ส้มสามหมอก
สารประกอบ.
Ζ + - Zeta potential ศักย์ซีต้า.
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Lab : protein chemistry JUN 27th, 2014 Rujira Patanawanitkul, M. D
การจำแนกประเภทของสาร
บทที่ 5 การบันทึกบัญชีแยกประเภท
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
พันธะเคมี.
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
เคมีอุตสาหกรรม พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ของใช้ในชีวิตประจำวัน
กระบวนการที่แยก Analyte และ Matrix ออกจากกัน
เคมีอุตสาหกรรม พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ของใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Solubilization and its application

INTRODUCTION McBain and Hutchinson treat solubilization as a distribution phenomenon between two phases: an aqueous phase and a micellar phase. As a first approximation the solubility of organic compounds in the aqueous phase is the same as in pure water. While the micelles are not a true separate phase, it is a convenient fiction.

การเลือกใช้สารลดแรงตึงผิวในการละลาย (micellar solubilization) เทคนิคนี้เป็นการเพิ่มการละลายโดยอาศัยสารลดแรงตึงผิว หรือที่นิยมเรียกว่า surfactants หรือ surface active agent หรือ amphiphile ซึ่งคือโมเลกุลหรือไอออนซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่มีขั้วหรือส่วนที่ชอบน้ำ (hydrophilic) ส่วนที่ไม่มีขั้วหรือส่วนที่ไม่ชอบน้ำ (hydrophobic)

เทคนิคการเพิ่มการละลาย การใช้สารลดแรงตึงผิว (micellar solubilization) การเพิ่มการละลายโดยการใช้ตัวทำละลายร่วม (cosolvency) การปรับ pH เพื่อให้เกิดการละลายของยาที่เป็นอิเล็คโตรไลท์อ่อนโดยการใช้ระบบบับเฟอร์ การเกิดสารประกอบเชิงซ้อน (complexation) โดยทั่วไปแล้วการใช้เทคนิคการเพิ่มการละลายโดยใช้ตัวทำละลายร่วม (cosolvency)

ชนิดของสารลดแรงตึงผิวที่นิยมใช้ 1. สารลดแรงตึงผิวชนิดที่มีประจุลบ (Anionic surfactant) ตัวอย่างที่นิยมใช้ คือ Sodium lauryl sulphate (SLS) 2. สารลดแรงตึงผิวชนิดที่มีประจุบวก (Cationic surfactant) สารลดแรงตึงผิวในกลุ่ม quaternary ammonium และ pyridinium เช่น cetrimide 3. สารลดแรงตึงผิวชนิดไม่มีประจุ (Non ionic surfactant) กลุ่มของ Sorbitan esters เป็น ester ระหว่าง sorbitol และ anhydrides ของ oleic acid หรือที่นิยมเรียกว่า Span

การเพิ่มการละลายโดยใช้สารลดแรงตึงผิว (Micellar solubilization) คือ กระบวนการละลายสารที่ละลายน้ำได้น้อยโดยอาศัยสารลดแรงตึงผิวโดยสารที่ไม่ค่อยละลายน้ำเหล่านี้จะถูกละลายอยู่ในส่วนของโมเลกุลที่ไม่ชอบน้ำของสารลดแรงตึงผิว (สาย hydrocarbon) เกิดการรวมตัวกันเกิดเป็นไมเซลล์ ยาหรือสารที่ถูกละลายเรียกว่า solubilizate ตัวถูกละลาย (solute)

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด solubilization ความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิว สูตรโครงสร้างทางเคมีของสารลดแรงตึงผิว และตำแหน่งของ solbilizate ในไมเซลล์ ลักษณะโครงสร้างของ solubilizate อิทธิพลของ pH อิเล็กโตรไลด์ (electrolyte)

การจัดเรียงตัวของ micelles ในรูปแบบต่างๆ เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิว

การเรียงตัวของสารลดแรงตึงผิวและรูปร่างของ micelle1 (A) spherical micelle ในตัวทำละลายที่เป็นน้ำ (B) spherical micelle ในตัวทำละลายที่ไม่ชอบน้ำ (C) laminar micelle เมื่อความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวชนิดมีประจุ (ionic surfactant) สูงขึ้น

Applications เพิ่มขีดการละลายของยาในปัจจุบัน การใช้สารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่หลากหลายเพื่อใช้ในการขจัดคราบ การฟื้นฟูสภาพน้ำดาลด้วยการใช้สารลดแรงตึงผิว การสกัดโลหะทองไอออนด้วยสมบัติจุดเริ่มขุ่นของสารลดแรงตึงผิว

ผู้จัดทำ น.ส. พรณ์ทิพย์ รักษาสวัสดิ์ 500510013 น.ส. พรณ์ทิพย์ รักษาสวัสดิ์ 500510013 น.ส. จักรีรา ปัญญาแก้ว 500510037 น.ส. จิตรวดี พรมมา 500510039 น.ส. ณัฐฐา ล้อมรอบ 500510060 นาย ณัฐพล ยอดเพชร 500510064 น.ส. ณัฐยาพร รัตนวิจิตร 500510065 นาย ณัฐวุฒิ ชัยชมภู 500510067 น.ส. ณีรนุช อินต๊ะแก้ว 500510068 น.ส. พจนพร ฮวบเจริญ 500510108 น.ส. พณิตา เหลือล้น 500510109 น.ส. พรชนก จินะแปง 500510112