การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

Knowledge Management (KM)
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Knowledge Management (KM)
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
(Knowledge Management : KM)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Communities of Practice (CoP)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗
อาจารย์ ดร.ฐิติพร ชมภูคำ กรรมการและเลขานุการหลักสูตร MBA
การพัฒนาระบบการเรียนทางไกลให้อยู่ในรูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศ Application of Information Technology System into Distance Learning Presented by: Sunadda.
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
CAMT Ratchapong Horchairat No หลักการการวิจัยการ จัดการความรู้ (Principles of Knowledge Management Research) KM704 1 Assignment.
Putting Knowledge in the Flow of Work
KMS Knowledge Management System
ระบบการจัดการความรู้ นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต รุ่นที่ 4
Week 4 : การบริหารโครงการ
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
ฐานข้อมูล Data Base.
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ยินดีต้อนรับ ผู้บริหาร คณะครู และ บุคลากร โรงเรียนหาดใหญ่อำนวยวิ ทย์บริหารธุรกิจ และ โรงเรียนหาดใหญ่อำนวย วิทย์พณิชยการ ศึกษาดูงานการจัดการ ความรู้ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การสร้างทีมงานในการบริหารโครงการ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร College of Arts Media and Technology Assignment 5 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการจัดการความรู้ (Applications of Information and Communication Technology in Knowledge Management) KM703 ว่าที่ร.ต.รัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ รหัส 542132031

College of Arts Media and Technology ” Experienced Community of Practice and Knowledge Transfer in a Science/Technology Company ว่าที่ร.ต.รัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ รหัส 542132031

ที่มา หลักการและเหตุผลของเอกสาร College of Arts Media and Technology ” ที่มา หลักการและเหตุผลของเอกสาร สำหรับบริษัทที่ต้องการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน จำเป็นอย่างยิ่งที่จะส่งเสริมและจัดการความรู้ภายในองค์กร องค์กรจึงมุ่งมั่นที่จะค้นหาวิธีการที่เหมาะสมเพื่อบริหารจัดการ ในการถ่ายทอดความรู้จากบริษัทไปยังบุคคล และเพื่อบูรณาการความรู้ ที่ไม่เหมือนกันของแต่ละบุคคล เข้าไปเก็บไว้ในคลังความรู้ของบริษัท เพื่อความเข้าใจที่ครอบคลุมมากขึ้นของวิธีการใช้ประโยชน์จากความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงนำไปสู่​​การวิจัยที่มุ่งเน้นไปที่กระบวนการถ่ายทอดความรู้เฉพาะทางภายในบริษัทและทีมงาน โดยมีองค์ประกอบที่สำคัญในรูปแบบของ CoP ชุมชนนักปฏิบัติ ว่าที่ร.ต.รัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ รหัส 542132031

วัตถุประสงค์ของการศึกษาของเอกสาร College of Arts Media and Technology ” วัตถุประสงค์ของการศึกษาของเอกสาร เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติขององค์กร และเครื่องมือเทคโนโลยีที่ใช้เพื่อการพัฒนาและการสนับสนุน จากประสบการณ์ของชุมชนนักปฏิบัติ ในระดับและประเภทของชุมชน ที่มีประสบการณ์เทคนิคด้านการบริหารจัดการงบประมาณ(TARs) ที่อยู่ในสมาชิกนิตยสารจัดอันดับ Forture 500 ว่าที่ร.ต.รัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ รหัส 542132031

ประโยชน์ที่ได้รับของการศึกษาของเอกสาร College of Arts Media and Technology ” ประโยชน์ที่ได้รับของการศึกษาของเอกสาร 1.ผลลัพธ์ที่สะท้อนให้เห็นถึงความแตกต่างกันในแต่ละระดับ และประเภท เพื่อนำมาสังเคราะห์ประยุกต์ใช้เป็นข้อสนับสนุน ในการจัดการความรู้ขององค์กร ในรูปแบบตารางความสัมพันธ์ Table 1. Means, standard deviations, and alphas for eCoP Table 2. eCoP variable correlation table Table 3. Structural equations results 2.องค์กรสามารถวางแผนการดำเนินงานของชุมชนนักปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติและเครื่องมือเทคโนโลยี ขึ้นอยู่กับแง่มุมของชุมชนที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติ ว่าที่ร.ต.รัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ รหัส 542132031

ประโยชน์ที่ได้รับของการศึกษาของเอกสาร College of Arts Media and Technology ” ประโยชน์ที่ได้รับของการศึกษาของเอกสาร 3. ขอบเขตของปัญหาหรือผลกระทบ สามารถนำมาใช้เพื่อศึกษาต่อยอดงานวิจัยในการพัฒนาการจัดการความรู้ขององค์กรต่อไปได้ ว่าที่ร.ต.รัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ รหัส 542132031

วิธีดำเนินการ (KM Tools) ของเอกสาร College of Arts Media and Technology ” วิธีดำเนินการ (KM Tools) ของเอกสาร KM Tools CoP (Community of Practice-CoP) รูปแบบ Model 1. Shared Vocabulary 2. Learning from each other 3. Open Communication 4. Remembering Previous Lessons วิธีการ Methods 1. แบบสอบถาม ว่าที่ร.ต.รัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ รหัส 542132031

วิธีดำเนินการ (KM Tools) ของเอกสาร College of Arts Media and Technology ” วิธีดำเนินการ (KM Tools) ของเอกสาร KM Tools CoP (Community of Practice-CoP) มาตรการ Measures 1. eCop 2. Tacit Knowledge 3. Technology Tool Use 4. Archival measures ขั้นตอน Procedure ว่าที่ร.ต.รัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ รหัส 542132031

สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ของนักศึกษา College of Arts Media and Technology ” สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ของนักศึกษา บทความวิจัยนี้ได้มุ่งเน้นศึกษาประสบการณ์ของชุมชนนักปฏิบัติ เพื่อนำมาใช้พัฒนาการจัดการความรู้ขององค์กร โดยสามารถนำ CoP (Community of Practice) ซึ่งเป็น 1 ใน เครื่องมือของการจัดการความรู้ (KM Tools) สำหรับการดึงความรู้ประเภท Tacit Knowledge หรือ ความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล ซึ่งซ่อนเร้นอยู่ภายใน และเป็นกิจกรรมรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนแบ่งปันประสบการณ์ การทำงานซึ่งกันและกัน เป็นการสื่อสารสองทาง เป็นการบอกเล่าแบ่งปันเรื่องราวความสำเร็จ ประสบการณ์ วิธีการทำงานของผู้ปฏิบัติงานซึ่งกันและกัน นำใช้ให้เหมาะสมกับองค์กรนั้นๆ ว่าที่ร.ต.รัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ รหัส 542132031

สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ของนักศึกษา College of Arts Media and Technology ” สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ของนักศึกษา ดังนั้น การทำ CoP ควรเป็น CoP ที่ยั่งยืนและให้ผลถาวร ควรทำให้เป็นวิถีชีวิตการทำงานตามปกติอย่างหนึ่ง หรือกลายเป็นวัฒนธรรมการทำงานในองค์กรที่ทุกคนได้ถือปฏิบัติ เพื่อให้องค์กรนั้นเข้าถึงแก่นแท้หรือจิตวิญญาณที่แท้จริงของการจัดการความรู้ และเป็นการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการความรู้ที่สามารถสร้างความได้เปรียบในทางการแข่งขันขององค์กรได้ ว่าที่ร.ต.รัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ รหัส 542132031

College of Arts Media and Technology ” อ้างอิง Experienced Community of Practice and Knowledge Transfer in a Science/Technology Company David Cadiz Santa Clara University cadiz-david@yahoo.com Terri L. Griffith Santa Clara University tgrijfith@cu.edu John E. Sawyer University of Delaware sawyerj@learner.udel.edu ว่าที่ร.ต.รัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ รหัส 542132031