โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เด็กฉลาด สร้างได้ด้วย ไอโอดีน.
Advertisements

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
ด.ช.สกลพัตร พันธุ์บุญปลูก ม.2/8 เลขที่10 ปีการศึกษา 2548
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การปฏิบัติตนก่อนและหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลัง
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โดย: ด.ช.นพวิทย์ วงษ์เจริญ ด.ญ.ลักษิกา บูรณศักดิ์ศรี
ขนมไทย จัดทำโดย ด. ช. กลวํชร เชื้อเกตุ ด. ช. ณัฐชนน กำจาย เสนอ อ
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
ภาวะไตวาย.
โรคอุจจาระร่วง.
การบริหารยาทางฝอยละออง
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับร้านอาหาร
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
Nipah virus.
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
สารปรุงแต่งอาหาร.
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ดีบุก (TIN).
น้ำสนุมไพร ถัดไป.
น้ำสมุนไพร ถัดไป.
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้ สารฟอกขาว โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้ ผงละเอียดสีขาวหรือเทา กลิ่นฉุน แสบจมูก ละลายน้ำได้ดี ลักษณะ เดิมใช้ในการฟอกแห

ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ และเป็นสารฟอกสี คุณสมบัติ ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ และเป็นสารฟอกสี อาหาร ถั่วงอก ผักผลไม้สด ขิงหั่นฝอย ฯลฯ

ปวดท้อง อาเจียน อุจจาระร่วง ผู้ที่แพ้อย่างรุนแรง หรือผู้ป่วยหอบหีด อันตรายต่อสุขภาพ หายใจขัด ความดันโลหิตต่ำ ปวดท้อง อาเจียน อุจจาระร่วง ผู้ที่แพ้อย่างรุนแรง หรือผู้ป่วยหอบหีด จะมีอาการช็อคหมดสติ และเสียชีวิต 3.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร 6.0 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง มากกว่า 10 กรัม ถึงตาย

จำนวนตัวอย่างที่ตรวจได้ 100 ตัวอย่าง ระดับต่ำสุดที่ตรวจได้ ร้อยละ 0.05 ชุดทดสอบโซเดียมไฮโดรฃัลไฟต์ (สารฟอกขาว)ในอาหาร จำนวนตัวอย่างที่ตรวจได้ 100 ตัวอย่าง ระดับต่ำสุดที่ตรวจได้ ร้อยละ 0.05

วิธีการทดสอบ ตัวอย่างเป็นของเข็ง ตักมาครึ่งช้อนชา ใส่ในถ้วยยา เติมน้ำสะอาด ประมาณ 10 มิลลิลิตร บดตัวอย่างให้แตก ตัวอย่างเป็นของเหลว เทน้ำแช่ ลงในถ้วยยา 5 มิลลิลิตร

หยดน้ำยาในขวดหยด จำนวน 1-3 หยด เขย่าให้เข้ากัน

อ่านผล พบสารไฮโดรซัลไฟต์ ไม่อนุญาตให้ใช้ พบสารฟอกขาว อนุญาติให้ใช้ ไม่มี สารฟอกขาว

การเก็บรักษาชุดทดสอบ ข้อควรระวัง อย่าวางชุดทดสอบไว้ไกล้มือเด็ก เก็บที่อุณหภูมิห้อง การเก็บรักษาชุดทดสอบ 2 ปี อายุการใช้งาน

ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ตรัง จัดทำโดย กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ตรัง