CKO กลุ่มที่สาม 29.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
CoPsป้องกันและดูแลแผลกดทับ
Advertisements

มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
ชุดวิชาที่ 6 การอบรมเชิงปฏิบัติการทางนวัตกรรมและเทคโนโลยี พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ประธานหลักสูตรการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม.
กลุ่มปลาดาว.
ประสบการณ์และวิธีการจัดการความรู้ ในงานบริการพยาบาล
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
กลุ่มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
Workshop การจัดการความรู้
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
LO KM สร้างความรู้ใหม่ พัฒนางาน พัฒนาคน
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Communities of Practice (CoP)
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
R2R ในโรงพยาบาลสำเร็จ ได้อย่างไร
การจัดการความรู้ กลุ่มที่ 5.
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
กลุ่มที่ 6 ที่ปรึกษา: คุณปิย์วรา ตั้งน้อย ประธาน: คุณธวัลรัตน์ แดงหาญ
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
น.พ.บวร งามศิริอุดม สาธารณสุขนิเทศก์ เขต 15,17
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
การจัดการ ความรู้ กองแผนงาน. 1. ทีมงาน KM ซึ่งแต่งตั้งในปี 2549 เป็น แกนนำหลักในการดำเนินการเพื่อความต่อเนื่อง 2. ประเมินผลการดำเนินการในปี 2549 และนำเสนอผลการประเมินเพื่อหารือในที่
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CKO กลุ่มที่สาม 29

สถาบันราชประชาสมาสัย สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กลุ่มที่สาม อาจารย์วราพร คุ้มอรุณรัตนกุล รพ.บ้านตาก vkom99@hotmail.com 084-0495-191 สถาบันบำราศนราดูร สถาบันราชประชาสมาสัย สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี โรงพยาบาลบางกรวย นนทบุรี จำนวน 29 คน ประธาน ไม่มี(ทุกคน) คุณลิขิต คุณวิ,คุณวุฒิ ผู้นำเสนอ คุณอั้ม(นามแฝง)

แนวทางการประชุม เสนอเลือกประธาน เสนอไม่เลือกประธาน มติรับ เสนอกำหนดประเด็น KV มติรับให้ทุกคนเขียนใส่กระดาษแล้วส่ง เสนอ วิทยากรให้บอก concept การประชุมกลุ่ม ใช้การ Vote เมื่อตกลงกันไม่ลงตัว และต้องการความรวดเร็ว สอบถามระหว่างการพูดคุยได้ตลอดเวลา สรุปทุกขั้นตอนที่มีการพูดในแต่ละประเด็น

ขั้นตอนแรก หา KV 1.ทำอย่างไรให้คนแชร์ความรู้ จูงใจอย่างไรให้คนแชร์ความรู้ วิธีการอย่างไรทำให้คน sharing 2. ทำอย่างไรจะสร้างเครือข่าย KM ได้ประสบผลสำเร็จ 3. ทำอย่างไรให้ผู้ปฏิบัติเกิดความรับผิดชอบ 4. ทำอย่างไรเราจะเป็นคุณอำนวยได้อย่างมีคุณภาพ 5. ทำอย่างไรให้ผู้ปฏิบัติมีความกระตือรือร้นในการทำงาน 6. การพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน 7. การสร้างคลังความรู้ (คะแนน 14 คะแนน) (คะแนน 2 คะแนน) (คะแนน 3 คะแนน) (คะแนน 7 คะแนน) (คะแนน 8 คะแนน) (คะแนน 5 คะแนน)

ขั้นการเลือก KV การสร้าง KS ในองค์กร เสนอ กระบวนสร้างการมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (15) เสนอ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (1) เสนอ การสร้าง KS ในองค์กร (15) สรุป KV ของกลุ่ม การสร้าง KS ในองค์กร

ขั้นตอนที่สอง Story telling พี่เล็ก จากสถาบันบำราศนราดูร HA พัฒนาคน OD พัฒนาคน หน่วยงานเล็ก OR morning talk กลายเป็นวัฒนธรรม แลกเปลี่ยนพยาบาลห้องอื่น สร้าง innovation ไม่จำกัดเฉพาะพยาบาล พนักงานทำด้วย นำเสนอที่เวที KM

ขั้นตอนที่สอง Story telling(ต่อ) คุณณิชาภา สคร.ที่ 2 Share การสอบสวนให้ความรู้เท่าเทียมระหว่างหัวหน้าและลูกน้อง ตอบคำถามจังหวัดได้เหมือนกัน นพ.ศรายุธ สคร.ที่ 2 สภากาแฟตอนเช้าวันจันทร์ คุณเดชา สคร.ที่ 2 ร่วมกันตัดสินใจเมื่อมีประเด็นเข้ามา นำประเด็นไปวิเคราะห์แล้วสรุปอีกที

ขั้นตอนที่สอง Story telling(ต่อ) พี่ศิลป์ชัย สถาบันราชประชาสมาศัย ได้ทำ โดยเติมเข้างานประจำ CQI หาโอกาสพัฒนาต่อ คุณจุฑาพัฒน์ สำนักโรคเอดส์ฯ ทีม work ทำเพื่อรับประเมินในเบื้องต้น พี่สมจิตต์ สำนักโรคเอดส์ฯ KM ทำอยู่บนเนื้องานปกติ

ขั้นตอนที่สอง Story telling(ต่อ) คุณสุจิตรา สคร.ที่ 2 หาเวทีกลางให้ นพ.กฤษฎา CoP ต้องมี Domain คนทำต้องสนใจเหมือนกัน คุณเดชา ปัจจัยเรื่องเวลา เวลา เป็น ปัญหาเรื่องเชิงระบบ

ขั้นตอนที่สอง Story telling(ต่อ) พี่ศิลป์ชัย มองเห็นภาพที่ปลายทาง สำคัญตรงสื่อความหมาย แพทย์หญิงประพาฬรัตน์ เสริมการพัฒนางาน ทำความเข้าใจตั้งแต่แรก

ขั้นตอนที่สาม ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้าง Knowledge sharing นโยบายที่ให้ดำเนินการ KM ในองค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายชัดเจน ทีมงาน passion และต้องทำด้วยใจ คุณอำนวย มีความอดทน กระตือรือร้น กระตุ้นทีมตลอดเวลา ทำ KM ให้เหมือนกับงานประจำ สอดแทรก ระบบการจัดการได้แก่ จัดเวที จัดระบบ จัดเครือข่าย ในองค์กรที่เอื้อ ความรู้และประสบการณ์ ของคนในองค์กรในเรื่องที่จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสื่อสารทั้งที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ

การประเมินตนเอง โดยใช้ตารางแบ่งระดับ

Knowledge vision การสร้าง KS-knowledge sharing ในองค์กร ปัจจัย/ องค์ประกอบ เริ่มต้น (ระดับ1) พอใช้ (ระดับ2) ดี (ระดับ3) ดีมาก (ระดับ4) ดีเยี่ยม (ระดับ5) 3. Passion มีหนังสือเชิญประชุม(มาบ้าง ไม่มาบ้าง ) ข้อ 1.+ประชุมสม่ำเสมอ และมาประชุมครบ ข้อ 1.+ข้อ 2 +ออกความคิดเห็นทุกคน ข้อ 1.+ข้อ 2+ ข้อ 3 + สามารถกระตุ้นให้คนอื่นเข้ามาร่วมได้อีก ข้อ 1.+ข้อ 2+ ข้อ 3 + ข้อ 4 นำรูปแบบการประชุมไปเป็นวิทยากรได้ 6. ระบบการจัดการ knowledge sharing

สายธารแห่งปัญญา (เฉพาะปัจจัย Passion) เป็นอยู่ คาดหวัง สคร 2 4 5 บางกรวย 3 บำราศฯ 1 ราชประชาฯ สอวพ

ปัจจัย Passion Level สคร บางกรวย, บำราศฯ, สอวพ ราชประชาฯ, 1 2 3 4   สคร บางกรวย, บำราศฯ, สอวพ ราชประชาฯ, 1 2 3 4 พร้อมให้ ใฝ่รู้ กลาง ๆ GAP (=Target minus Current)

กิจกรรมการจัดการความรู้ แผนการพัฒนาคุณกิจ เพื่อสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ และ Knowledge workers กลุ่มกิจกรรม กิจกรรมการจัดการความรู้ การวัดผล Committee ตั้งคณะกรรมการ มีคำสั่งแต่งตั้ง รายงานการประชุม? Utilization BAR Before Action Review จำนวนบันทึกการทบทวนก่อนการดำเนินงาน เล่าเรื่อง จำนวนเรื่อง/ครั้ง ต่อปี AI appreciative inquiring ค้นหาสิ่งดี ๆ รอบ ๆ ตัว บัญชีความสุข,จำนวนนวัตกรรม,จำนวน CQI Contineous Quality Improvement ดูงาน จำนวนครั้งของการถ่ายทอดประสบการณ์จากการศึกษาดูงาน,จำนวนนวัตกรรม Morning talk เรื่องเล่าเช้านี้ จำนวนเรื่อง จำนวนครั้ง จำนวนนวัตกรรม ตั้งประเด็นให้ขบคิด Mentoring พี่เลี้ยง ความรู้ที่เพิ่มขึ้น จำนวนพี่เลี้ยงที่เพิ่มขึ้น

แผนการพัฒนาคุณกิจ เพื่อสร้างการจัดการความรู้ และ Knowledge workers กลุ่มกิจกรรม กิจกรรมการจัดการความรู้ การวัดผล Utilization มอบหมายงาน จำนวน/ร้อยละของชิ้นงานที่สำเร็จ ทันเวลา เพื่อนช่วยเพื่อน จำนวนเรื่อง จำนวนครั้ง จำนวนนวัตกรรม Coaching การสอนแนะงาน ความรู้ที่เพิ่มขึ้น จำนวนผู้สอนแนะที่เพิ่มขึ้น Web blog ,Web board จำนวน blog/board จำนวน ครั้งที่ visit comment บันทึก CoP community of practice จำนวน CoP, สมาชิก, จำนวนนวัตกรรม หลักสูตรอบรม/On the job training/ On Spot Training จำนวนหลักสูตร, ความพึงพอใจ, ความรู้ที่เพิ่มขึ้น, การนำไปใช้ประโยชน์ Pre-test, Post-test จำนวนนวัตกรรม Review AAR After Action Review จำนวนครั้งของการบันทึกทบทวน,จำนวนนวัตกรรม,จำนวนเรื่อง บทความ, จำนวนครั้งของการบันทึกความเสี่ยง , จำนวนครั้ง/นวัตกรรมของการจัด Journal club, WI work instruction , QP Quality Procedure ,CPG Clinical practice guiedline , HA Hospital accreditation (เอกสารคุณภาพต่างๆ )

AAR