การวัดทางระบาดวิทยา น.ส.วิภาวี ธรรมจำรัส.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

การดูแลระยะตั้งครรภ์
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
การเลือกคุณภาพสินค้า
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
ความน่าจะเป็น (Probability)
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
We will chake the answer
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
สุขภาพสัตว์และการอนามัย
ผ.ศ(พิเศษ).น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การกรอกแบบรายงานผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยง
ตัววัดความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆทางระบาดวิทยา
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
Practical Epidemiology

กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
การจัดทำ Research Proposal
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
แนวทางการจัดการข้อมูลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย) ธัญภา จันทร์โท กลุ่มโรคไม่ติดต่อ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา.
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
10 ลำดับโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
การแจกแจงปกติ.
ไข้เลือดออก.
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
Introduction to Epidemiology
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
การวัดการเกิดโรค พ.ท. ผศ.ราม รังสินธุ์ พ.บ. ส.ม. DrPH
ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์
ชนิดของมะเร็งของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี และพฤติกรรมการบริโภคของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน.
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
แนวทางการนำเสนอข้อมูลจากการวิเคราะห์ โดยใช้ Logistic Regression
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
รักษ์หัวใจในที่ทำงาน หัวใจ & บุหรี่ ผศ. นพ. สุทัศน์ รุ่งเรือง หิรัญญา, FCCP หน่วยโรคทางเดินหายใจและเวชบำบัดวิกฤตภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มศว.
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
E D E,C 1 D E,C 1,C 2,C 3 D ตัวแปรต้น ตัวแปร ตาม ตัวแปรอิสระ แทนด้วย X X 1, X 2,... X k D ตัวอย่าง : X 1 = E X 4 = E*C 1 X 2 = C 1 X 5 = C 1 *C 2 X 3 =
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง รายจ่ายในการใช้มือถือและ ปัญหาทางการได้ยิน ของนักศึกษาทันตแพทย์ ชั้นปีที่ 4.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
การวัดทางระบาดและดัชนีอนามัย
การวัดทางระบาดวิทยา ( Measurement in Epidemiology)
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดทางระบาดวิทยา น.ส.วิภาวี ธรรมจำรัส

การวัดทางระบาดวิทยา การวัดขนาดของโรค การวัดความสัมพันธ์ระหว่าง “ปัจจัยที่ศึกษา” และ “โรค” การวัดผลกระทบของปัจจัยที่ศึกษาต่อการเกิดโรค

การวัดขนาดของโรค การวัดความชุกของโรค (Prevalence) = ผู้ป่วยเก่า + ผู้ป่วยใหม่ / จำนวนประชากรทั้งหมด การวัดอุบัติการณ์ของโรค (Incidence) การวัดขนาดการเกิดขึ้นใหม่ของโรค มี 2 ลักษณะ 1. การวัดความเสี่ยง 2. การวัดอัตรา

การวัดความเสี่ยง (Risk) หมายถึง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ซึ่งจะบอกให้ทราบว่าผู้ที่ ไม่มีโรค จะมีโอกาสในการเกิดโรคมากน้อยเท่าใด จำนวนคนที่เป็นโรค ÷ จำนวนคนทั้งหมด ในเวลา ....... ปี เช่น มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 4 รายจากจำนวนประชากร 6 คน ในระยะเวลา 8 ปี จะมีโอกาสในการเกิดโรค เท่าไหร่ = 4 ÷ 6 x 100 ในเวลา 8 ปี = 66.67 ราย ในเวลา 8 ปี ถ้าในระยะเวลา 1 ปี = 66.67 ÷ 8 = 8.33 ราย

การวัดอัตรา (Rate) หมายถึง เป็นการวัดว่าการเกิดโรคในกลุ่มคนที่ยังไม่ได้ เป็นโรคเกิดขึ้นช้าเร็วเพียงใด โดยใช้ระยะเวลาเสี่ยงต่อการเกิดโรค ของทุกๆคนที่ศึกษามาเป็นมาตรฐานของการคำนวณ RT = D ÷PT D = (การเกิดโรคขึ้นใหม่) PT =(ระยะเวลาของแต่ละคนที่เสี่ยงต่อการเกิด โรค) เช่น ผู้ที่เป็นโรคไข้เลือดออกรายใหม่ 4 รายจากประชากร 6 คน(ระยะเวลาที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค= 32) = 4 ÷32 = 12.5 ราย ÷100 หรือ 12.5% ต่อปี

การวัดความสัมพันธ์ระหว่าง “ปัจจัยที่ศึกษา” และ โรค” 1. วัดในลักษณะของ Ratio Scale - Cumulative incidence ratio หรือ Risk ratio - Incidence density ratio หรือ Rate ratio - Odds ratio - Prevalence ratio - Standardised mortality ratio - Proportional mortality ratio

การวัดความสัมพันธ์ระหว่าง “ปัจจัยที่ศึกษา” และ โรค” (ต่อ) 2. วัดในลักษณะ Difference Scale - Cumulative incidence difference หรือ Risk difference - Incidence density difference หรือ Rate difference 3. วัดในลักษณะอื่นๆ - Correlation coefficient - Regression coefficient

การวัดผลกระทบของปัจจัยที่ศึกษาต่อการเกิดโรค การวัดผลเฉพาะในกลุ่มผู้ที่มีปัจจัยนั้น เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่และการเกิดโรค ทางเดินหายใจ เป็นโรค ไม่เป็นโรค สูบบุหรี่ 100 ไม่สูบบุหรี่ 100 50 350 40 160 10 190

การคำนวณ Attributable fraction among the exposed (AFe) AFe = = = 0.75 หรือ 75 % ถ้า Ie = Incidence ในผู้ที่มีปัจจัย = 40÷100 =40% Iu = Incidence ในผู้ที่ไม่มีปัจจัย = 10÷100 = 10% หรือ ในกรณีที่ไม่มีข้อมูล Incidence สามารถใช้ Relative risk มาใช้ในการ คำนวณได้ AFe = = = 0.75 หรือ 75%

การวัดผลกระทบของปัจจัยที่ศึกษาต่อการเกิดโรค การวัดผลในประชากรทั้งหมด เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่และการเกิดโรค ทางเดินหายใจ เป็นโรค ไม่เป็นโรค สูบบุหรี่ 100 ไม่สูบบุหรี่ 100 50 350 40 160 10 190

การคำนวณ Attributable fraction in the whole population (AFp) AFe = = = 0.60 หรือ 60 % ถ้า Ip = Incidence ใน Population = 50÷200 =0.25 =25% หรือ ในกรณีที่ไม่มีข้อมูล Incidence สามารถใช้ Relative risk และความชุกของการมี ปัจจัยในชุมชนมาใช้ในการคำนวณ คือ AFp = Pe x (RR-1) = 0.50 x (4.00-1) = 60% Pe x (RR-1)+1 0.50 x (4.00-1)+1