การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (ปี )
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
ผลสรุปการประเมิน รวม 12 จังหวัด 36 อำเภอ 108 หน่วยบริการ จังหวัดที่ประเมิน จังหวัดสุพรรณ ระนอง อุตรดิตถ์ บึงกาฬ ชัยภูมิ เชียงใหม่ ชลบุรี ปัตตานี, อำนาจเจริญ,
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
งบประมาณ โครงการไข้หวัดใหญ่ จาก สปสช.
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
นโยบายการทำงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ ประจำปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี นิเทศติดตามการทำงานระดับอำเภอ

ตัวชี้วัดหลัก การประเมินผลและเกณฑ์การให้รางวัล เน้นที่ผลการให้บริการเป็นหลัก โดยคิดจากตัวชี้วัด 3 ข้อหลัก คือ อัตราการได้รับวัคซีนของประชากรกลุ่มเป้าหมาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 อัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการ น้อยกว่าร้อยละ 5 อัตราการให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่นอกกลุ่มเป้าหมาย

เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน (1) อัตราการได้รับวัคซีนของประชากรกลุ่มเป้าหมาย (Coverage) จำนวนประชากรกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวนประชากรกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน X 100 โดยพิจารณาจากข้อมูลที่ได้จากการบันทึกข้อมูลผ่านระบบที่ทางสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (ผ่านระบบเครือข่ายทางคอมพิวเตอร์ ณ 30 กย 52) - เป้าหมายของผลการดำเนินงานในครั้งนี้ คือ มีอัตราการได้รับวัคซีนของประชากรกลุ่มเป้าหมาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90

เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน (2) อัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการ (Wastage rate) จำนวนวัคซีนที่เปิดใช้(โด๊ส) จำนวนวัคซีนที่เปิดใช้(โด๊ส) - จำนวนผู้ที่ได้รับวัคซีน X 100 โดยพิจารณาจากข้อมูลที่ได้จากระบบบริหารวัคซีนคงคลัง (ผ่านระบบ VMI) และจำนวนวัคซีนที่ให้บริการในโครงการฯ - เป้าหมายของผลการดำเนินงานในครั้งนี้ คือ มีอัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการในโครงการฯ ไม่เกินกว่าร้อยละ 5

เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน (3) อัตราการให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่นอกกลุ่มเป้าหมาย จำนวนประชากรนอกกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีนX 100 จำนวนประชากรวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ทั้งหมด โดยพิจารณาจากข้อมูลที่ได้จากการบันทึกข้อมูลผ่านระบบที่ทางสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (ผ่านระบบเครือข่ายทางคอมพิวเตอร์ณ 30 กย 52) - เป้าหมายของผลการดำเนินงานในครั้งนี้ คือ มีอัตราการได้รับวัคซีนนอกกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 0

เกณฑ์การให้รางวัล(ต่อ) อัตราการได้รับวัคซีนของประชาชน น้ำหนักร้อยละ 60 ถ้าได้ ตั้งแต่ร้อยละ 95 ขึ้นไป ได้ 4 คะแนน ถ้าได้ ตั้งแต่ร้อยละ 90 – 94.99 ได้ 3 คะแนน ถ้าได้ ตั้งแต่ร้อยละ 85 – 89.99 ได้ 2 คะแนน ถ้าได้ ตั้งแต่ร้อยละ 80 – 84.99 ได้ 1 คะแนน อัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการน้อยกว่าร้อยละ 5 น้ำหนักร้อยละ 30 ถ้าสูญเสียวัคซีนน้อยกว่าร้อยละ 0.00 ได้ 4 คะแนน ถ้าสูญเสียวัคซีนน้อยกว่าร้อยละ 0.01 - 5.00 ได้ 3 คะแนน ถ้าสูญเสียวัคซีนน้อยกว่าร้อยละ 5.01 – 10.00 ได้ 2 คะแน ถ้าสูญเสียวัคซีนน้อยกว่าร้อยละ 10.01 – 15.00 ได้ 1 คะแนน

เกณฑ์การให้รางวัล(ต่อ) 3. อัตราการให้วัคซีนนอกกลุ่มเป้าหมาย น้ำหนักร้อยละ 10 ถ้าการให้วัคซีนนอกกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 0.00 ได้ 4 คะแนน น้อยกว่าร้อยละ 0.01 - 5.00 ได้ 3 คะแนน น้อยกว่าร้อยละ 5.01 – 10.00 ได้ 2 คะแน น้อยกว่าร้อยละ 10.01 – 15.00 ได้ 1 คะแนน

กรอบแนวทางในการนิเทศติดตามประเมินผล ปัจจัยหรือตัวชี้วัดในการนิเทศติดตามประเมินผลการดำเนินงาน แบ่งได้เป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนดำเนินการให้บริการฯ การจัดทำทะเบียนประชากรกลุ่มเป้าหมาย การจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือในการเก็บรักษาวัคซีนในการให้บริการ ระยะระหว่างการดำเนินการให้บริการฯ การจัดระบบให้บริการ การติดตามประชากรกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการ การติดตามอาการภายหลังได้รับวัคซีน ระยะหลังดำเนินการให้บริการฯ ติดตามความครอบคลุมของการให้บริการประชากรกลุ่มเป้าหมาย ติดตามอัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการ ติดตามอัตราการให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่นอกกลุ่มเป้าหมาย

กรอบของปัจจัยหรือตัวชี้วัดอื่นๆ ในการนิเทศติดตามประเมินผลการดำเนินงาน (1) มีการจัดการประชุมชี้แจงบุคลากรภายในสถานบริการหรือหน่วยบริการให้รับทราบนโยบาย และแนวทางในการดำเนินงานตามโครงการฯ มีการกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานโครงการฯ มีการประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรภายในหน่วยงาน รับทราบนโยบายและแนวทางในการดำเนินงาน มีการประชาสัมพันธ์ให้กับประชากรกลุ่มเป้าหมายภายในอำเภอให้รับทราบโครงการฯ และการมารับบริการฉีดวัคซีนฯ มีทะเบียนรายชื่อประชากรกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงานของสถานบริการ/หน่วยบริการ กลุ่มเป้าหมายจำแนกรายหมู่บ้าน และรายตำบล กลุ่มเป้าหมายจำแนกรายโรค 6. มีการประมาณการใช้วัคซีนที่ต้องใช้ในการดำเนินการภายในอำเภอ 7. มีแผนงานและการเตรียมการให้บริการ ได้แก่ สถานที่, บุคลากร, กำหนดวันให้บริการฉีดวัคซีน ปริมาณวัคซีน, เวชภัณฑ์ และยา ที่ต้องใช้ในการให้บริการ

กรอบของปัจจัยหรือตัวชี้วัดอื่นๆ ในการนิเทศติดตามประเมินผลการดำเนินงาน (2) 8. มีการติดตามระบบการบริหารคลังวัคซีน และจัดเก็บในอุณหภูมิที่ถูกต้อง สถานที่ ตู้เย็นเก็บวัคซีน เทอร์โมมิเตอร์ และมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 2-8 °C บุคลากรรับผิดชอบดูแลคลังวัคซีน บัญชีการเบิก-จ่าย และระบบลูกโซ่ความเย็น ปริมาณวัคซีนเวชภัณฑ์ และยาคงคลัง มีปริมาณเพียงพอในการให้บริการ 9. มีแผนงานหรือแนวทางในการแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ สถานที่ บุคลากร ปริมาณวัคซีน เวชภัณฑ์ และยา 10. มีแผนงานการเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับวัคซีน การจัดเตรียมสถานที่ บุคลากร เวชภัณฑ์ที่ใช้ในการดูแลรักษาอย่างเพียงพอ ระหว่างให้บริการ 11. มีแผนงานการติดตามอาการภายหลังได้รับวัคซีน บัตรตอบกลับ การติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย ติดตามทางโทรศัพท์ 12. มีแผนงานหรือแนวทางในการรับร้องเรียนและแก้ไขปัญหาผู้ป่วยที่มี อาการภายหลังได้รับวัคซีน คณะทำงานรับเรื่องร้องเรียน ไกล่เกลี่ยปัญหา และให้การช่วยเหลือเบื้องต้น คณะทำงานสอบสวนหาข้อเท็จจริง

การพิจารณาให้รางวัลแก่หน่วยงาน ที่มีผลการดำเนินงานดีเด่น จำนวนรางวัล รวม ระดับเขต (ในแต่ละภาค) 2 (4) 8 ระดับจังหวัด (ในแต่ละเขต) (18) 36 ระดับอำเภอ (ในแต่ละจังหวัด) (76) 152 รวมทั้งสิ้น 196

ผู้พิจารณามอบรางวัลให้หน่วยงานดีเด่น หน่วยงานระดับเขต คณะติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ หน่วยงานในระดับจังหวัด คณะกรรมการประสานการพัฒนางานสาธารณสุขระดับเขต (คปสข.) หน่วยงานในระดับอำเภอ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ขอบคุณค่ะ