ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง
Advertisements

จดหมายกิจธุระ.
ศาสนพิธี.
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
บทที่ 1 “จำนวนนับ 1 ถึง 5 และ 0”
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
สหสัมพันธ์ (correlation)
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
แบบสอบถามประกอบการศึกษา
บทที่ 8 การเตรียม ประมวลผลข้อมูล
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวัดและประเมินผลการศึกษา
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตัวเลขไทย.
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
ระบบสืบค้นหนังสือห้องสมุดคลังความรู้
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับลักษณะของข้อมูล
การให้บริการยืม-คืนหนังสือ
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การจัดเตรียมข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ ด้วย
Menu Analyze > Correlate
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
4.ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio scale)
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
สหสัมพันธ์ (correlation)
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การวิเคราะห์ข้อมูล.
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
ขั้นตอนในการประเมิน ขีดความสามารถ/ขีดสมรรถนะ ของข้าราชการ ทร.
วิจัย (Research) คือ อะไร
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
การวิเคราะห์สถิติ SPSS for Windows
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ครั้งที่ ๒.
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
บทที่ 5 การวัดและการสร้างสเกล
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน.
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้ 1. มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale) 2. มาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale) 3. มาตราอันตรภาค (Interval Scale) 4. มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale)

- มาตรานามบัญญัติที่เป็นตัวเลข ข้อมูลในระดับนี้เป็นเพียงการระบุชื่อหรือจำแนกชนิดของสิ่งของต่างๆ อาจเป็นตัวอักษรหรือตัวเลขก็ได้ - มาตรานามบัญญัติที่เป็นตัวเลข เช่น หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน เลขที่บ้าน หมายเลขสายรถเมล์ เป็นต้น

- มาตรานามบัญญัติที่เป็นตัวอักษร เช่น ศาสนา (พุทธ คริสต์ อิสลาม ฮินดู) อาชีพ (รับราชการ รัฐวิสาหกิจ ค้าขายฯ) เพศ (ชาย หญิง)

แสดงถึงปริมาณมากน้อยของคุณลักษณสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในรูปของลำดับที่ การจัดลำดับอาจใช้ลักษณะ มาก-น้อย สูง-ต่ำ ดี -ไม่ดีกว่ากันซึ่งผลการวัดจะเป็นตัวแสดงลำดับที่ เริ่มจาก 1 2 3 4 ฯ มีข้อสังเกตที่สำคัญ คือ ไม่สามารถระบุช่วงห่างของลำดับที่ได้ เช่น ความพึงพอใจต่อการสอน (มาก ปานกลาง น้อย) ผลการประกวดผลไม้(รางวัลที่ 1 2 และ 3 )

เป็นการกำหนดตัวเลขแทนปริมาณให้กับคุณลักษณะของสิ่งต่าง ๆ สามารถระบุความแตกต่างของ ข้อมูลได้ เนื่องจากมีช่วงห่างของสเกลเท่ากัน ข้อสังเกตที่สำคัญ คือ ข้อมูลระดับนี้เป็นศูนย์สมมุติ เช่น ความพึงพอใจ คะแนนสอบ (แปรค่าออกเป็น 0-……คะแนน) อุณหภูมิ

เป็นมาตราระดับสูงสุดที่มีคุณสมบัติต่างๆเหมือนกับมาตราอันตรภาค และเป็นข้อมูลที่มีศูนย์แท้ เช่น มีเงิน 0 บาท หมายความว่า ไม่มีเงินเลย มีบุตร 0 คน หมายความว่า ไม่มีบุตรเลย เป็นจำนวนที่แทนปริมาณที่แท้จริง เช่น น้ำหนัก ส่วนสูง รายได้ จำนวนคนที่มาเรียน จำนวนต้นไม้ในสวน เป็นต้น

ตัวอย่างการวัดมาตราต่างๆ ระดับข้อมูล ตัวอย่างการวัด Ratio Interval Ordinal Nominal ความสูง น้ำหนัก เวลา วันในปฏิทิน ระดับอุณหภูมิ ยศทางทหาร ผลการประกวดนางงาม สีตา เชื้อชาติ สถานภาพสมรส เลขทะเบียนรถ

ระดับข้อมูลและสถิติที่เหมาะสม ระดับข้อมูล ตัวอย่างสถิติต่างๆ ที่เหมาะสม การทดสอบนัยสำคัญที่เหมาะสม นามบัญญัติ Nominal เรียงอันดับ Ordinal อันตรภาค Interval อัตราส่วน Ratio ฐานนิยม การแจกแจงความถี่ Contingency coefficient Nonparametric statistical test มัธยฐาน เปอร์เซ็นไทล์ Rank correlation Nonparametric statistical test มัชฌิมเลขคณิต ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน Pearson product- moment correlation Parametric statistical test ใช้สถิติได้ทุกตัว ใช้ได้ทุกชนิด

ทบทวนระดับการวัดตัวแปร จำนวนหนังสือในห้องสมุด (0-…เล่ม) ประเภทของหนังสือในห้องสมุด (นวนิยาย ตำรา วารสาร ) ความพึงพอใจต่อการเรียน (พึงพอใจมาก พึงพอใจปานกลาง พึงพอใจน้อย) ความพึงพอใจต่อการเรียน (0-10 คะแนน) ประสบการณ์ทำงาน (0-….ปี) ประสบการณ์ทำงาน (มาก ปานกลาง น้อย) เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้ รายได้ต่อเดือน (0-…….บาท)