การวัดผล (Measurement)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

การประเมินผลสถานศึกษา
PCTG Model อริยมงคล 55.
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
หน้าที่ของผู้บริหาร.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
การศึกษารายกรณี.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
บทที่ 1 การวิจัยกับการ พัฒนางานของครู
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
มาตรฐานวิชาชีพครู.
การจัดการศึกษาในชุมชน
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การประเมินผลการเรียน
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
หน่วย การเรียนรู้.
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
ความสำคัญและมโนทัศน์พื้นฐานของการวัดและประเมินผลการศึกษา
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประวัติการศึกษาไทย.
และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การประเมินผลในวิจัยชั้นเรียน
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
 ผู้วิจัย นายชัช อุ่น บุญธรรม  สังกัด วิทยาลัย เทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
การวัดและประเมินผล.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดผล (Measurement) กระบวนการในการกำหนดคุณลักษณะของสิ่งที่ต้องการวัดในเชิงปริมาณ โดยผลการวัดจะแสดงออกในรูปจำนวนหรือตัวเลข

สิ่งที่ ต้องการวัด ผล การวัด เครื่องมือ/วิธีการ ที่ยอมรับร่วมกัน สิ่งที่ ต้องการวัด ผล การวัด

ประเภทของการวัดผล การวัดผลด้านกายภาพ (Physical Measurement) การวัดผลด้านจิตวิทยา (psychological Measurement)

การประเมินผล (Evaluation) การตัดสินคุณค่าของสิ่งต่างๆ ซึ่งบางครั้งอาจพิจารณาจากผล ที่ได้จากการวัดเท่านั้น แต่ส่วนมากจะตัดสินคุณค่าของสิ่ง ต่างๆ ประกอบกับหลักฐานด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และรวมถึง การใช้วิจารณญาณและความรู้สึกนึกคิดของผู้ประเมิน ประกอบในการตัดสินใจด้วย

ตัดสิน ข้อมูลจากการวัด เกณฑ์/มาตรฐาน ผลการประเมิน ข้อมูลเชิงคุณภาพ ปรับปรุง

ประเภทของการประเมินผล การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ (Criterion - Referenced Evaluation) การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม (Norm -Referenced Evaluation) การประเมินผลแบบอิงตนเอง (Self - Referenced Evaluation)

จุดมุ่งหมายของการประเมินผลการศึกษา 1. เพื่อสร้างแรงจูงใจในการเรียน 2. เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของผู้เรียน 3. เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน 4. เพื่อวินิจฉัย 5. เพื่อตัดสินผลการเรียน

จุดมุ่งหมายของการประเมินผลการศึกษา 6. เพื่อจัดตำแหน่ง 7. เพื่อตรวจสอบพัฒนาการผู้เรียน 8. เพื่อพยากรณ์

ปรัชญาของการวัดและประเมินผลการศึกษา “Evaluation is not to prove, but to improve”

หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา 1. การวัดและประเมินผลต้องตรงกับจุดมุ่งหมาย 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลต้องมีคุณภาพ 3. การวัดและประเมินผลต้องคำนึงถึงความยุติธรรม 4. การแปลผลของการวัดและประเมินผลต้องถูกต้อง 5. ต้องใช้ผลการวัดและประเมินผลให้คุ้มค่า

ธรรมชาติของการวัดและประเมินผลการศึกษา การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดทางอ้อม การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่สมบูรณ์ การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดเชิงสัมพัทธ์ การวัดและประเมินผลการศึกษาเป็นกระบวนการที่มีความคลาดเคลื่อน

ขั้นตอนการวัดและประเมินผล การกำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของการเรียนรู้ ในด้านที่จะมุ่งวัด การกำหนดวิธีการวัดผล การเลือก/สร้างเครื่องมือการวัดผล การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ การบริหารการวัดผล การตัดสินค่าจากผลการวัด การให้ผลป้อนกลับจากการวัดและประเมินผล

ประโยชน์ของการวัดและประเมินผลการศึกษา ผู้เรียน ผู้สอน ผู้ปกครอง งานแนะแนว การบริหารการศึกษา การวิจัยการศึกษา

พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 22 : การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้ และ ถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ

พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 28 : หลักสูตรการศึกษาต้องมีลักษณะหลากหลาย สาระของหลักสูตรต้องมุ่งพัฒนาคน ให้มีความสามารถ มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม

มาตรา 24 : จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา จัดกิจรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติ ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นทุกเวลา ทุกสถานที่โดยประสานความร่วมมือกับฝ่ายต่างๆ

พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 26 : สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจาก พัฒนาการ ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน

หลักสูตร เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ (O) การเรียนการสอน (L) การประเมินผล (E)

ความหมายของคำในกระบวนการจัดการศึกษา - หลักสูตร - วัตถุประสงค์ - การจัดการเรียนการสอน - การประเมินผล