สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
4/2/2017 Triple A Process ระบบการกำกับติดตามผลการดำเนินนโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และจุดเน้น สพฐ.
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
การพัฒนาครูพลศึกษาในประเทศไทย
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การบริหารงานของห้องสมุด
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
บรรยายพิเศษ นโยบายและทิศทางการพัฒนามุม มสธ. ในห้องสมุดประชาชน กศน.
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้(Literacy)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
นโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา)
โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้น พื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
แนวทางการพัฒนางาน บริการชุมชนและส่งเสริมการใช้บริการ
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การก่อตั้งประชาคมอาเซียน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
มาตรฐานวิชาชีพครู.
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนขับเคลื่อน ของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อสนองยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ.
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
สรุปบทเรียนความสำเร็จการดำเนินงานโครงการโรคเอดส์ ด้านการป้องกัน
๑. เป้าหมายการอบรม ๑. เป็นการจัดการฐานข้อมูลสู่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Database Technology) ให้เกิดเอกภาพและทิศทางเดียวกัน ๒. เป็นการจัดการเครือข่ายฐานข้อมูลเทคโนโลยี
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
การดำเนินงานโครงการ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ การประเมิน จาก ภายนอก รอบสาม ของ สพป. กาญจนบุรี เขต ๑.
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การยกระดับคุณภาพ กศน. ๑. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
นโยบาย กระทรวงศึกษาธิกา ร นำเสนอในที่ประชุม ผอ. สพท. ทั่วประเทศ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๖ วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ นายเสริมศักดิ์
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
นโยบายรัฐบาล (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร)
ชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs)
Evaluation of Thailand Master Plan
นโยบาย กระทรวงศึกษาธิกา ร นำเสนอในที่ประชุม ผอ. สพท. ทั่วประเทศ ครั้งที่ ๒ / ๒๕๕๖ วันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ ฯพณฯ พงศ์เทพ เทพ.
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
กิจกรรมของสถาบัน ภาษาอังกฤษ ร่วมกับ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ V.0206.11.40 แผนการดำเนินงาน ตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช) สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ v.0206.11.40 Full

แผนการดำเนินงาน ตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นโยบาย : จัดการศึกษาให้ประชาชนจบขั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๖ หรือเทียบเท่าจนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ หรือระดับชั้น ปวช.๓ การดำเนินงาน : การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน นโยบาย : จัดการศึกษาชุมชนเพื่อมุ่งให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้และการศึกษาตลอดชีวิต การดำเนินงาน : ส่งเสริมและจัดการศึกษาตลอดชีวิต

แผนการดำเนินงาน ตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นโยบาย : จัดการศึกษาชุมชนเพื่อมุ่งให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้และการศึกษาตลอดชีวิต การดำเนินงาน : จัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด นโยบาย : เร่งพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้ทัดเทียมกับนานาชาติ การดำเนินงาน : การจัดการศึกษาทางไกลและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การดำเนินงาน : Internet กศน.ตำบล

๑. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน ยกระดับการศึกษา จบ ม.๖ อย่างมีคุณภาพกับ กศน. โดย ๑) การเทียบระดับการศึกษา ประเมินความรู้และประสบการณ์โดยการสอบทฤษฎีและประสบการณ์ ถ้าสอบผ่านสามารถเทียบระดับนั้นๆ ได้ ๒) เดิมมีสถานศึกษาที่ดำเนินการเทียบระดับ จำนวน ๑๒๘ แห่ง จะจัดเพิ่ม เป็น ๔๘๔ แห่ง เพื่อให้สามารถดำเนินการได้อย่างเร่งด่วนตามนโยบาย ๓) เพิ่มจำนวนครั้งในการประเมินเทียบระดับจาก ปีการศึกษาละ ๑ ครั้ง เป็น ปีการศึกษาละ ๔ ครั้ง

๑. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน (ต่อ) การเรียนแบบพบกลุ่ม ๑) เพิ่มจำนวนหน่วยกิตในการลงทะเบียนเรียนต่อภาคเรียนมากขึ้น จาก ม.ปลายปกติ ๑๘ หน่วยกิต ปรับเป็น ๒๓ หน่วยกิต ๒) เพิ่มการเทียบโอนความรู้ประสบการณ์จากการประกอบอาชีพ และให้จบภายใน ๑ ปี * ทั้งนี้ต้องมีการปรับกฎ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

๑. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน กิจกรรม ระยะเวลา ๑. จัดทำฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย ๑.๑ สำรวจจำนวนประชากรที่ไม่จบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) ๑.๒ จัดทำรายงานสรุปจำนวนประชากรที่ไม่จบ ม.๖ ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของ กศน.จำแนกตามกลุ่มอายุ ๑.๓ จัดกลุ่มประชากร จำแนกตามวิธีเรียน ๓ วิธี คือ การเทียบระดับการศึกษา การพบกลุ่ม และการศึกษาทางไกล ก.พ. – มี.ค. ๕๕ ๒. ดำเนินการจัดการศึกษา “ยกระดับการศึกษา จบ ม.๖ อย่างมีคุณภาพกับ กศน.” ๒.๑ การเทียบระดับการศึกษา ๒.๒ การเรียนแบบพบกลุ่ม/การศึกษาทางไกล (ใช้วิธีการเทียบโอนส่วนหนึ่งและเรียนเพิ่มเติมส่วนที่เหลือ) ก.พ. – ก.ย. ๕๕

๑. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน (ต่อ) กิจกรรม ระยะเวลา ๓. จัดการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายตามที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณโดย ในปีการศึกษา๑/๒๕๕๕ ดำเนินการตามที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ต่อจากนั้นดำเนินการเพิ่มเติมจนครบ ๑๐๐% พ.ค. – ก.ย. ๕๕ ๔. ผู้จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๔ รับประกาศนียบัตร * มี.ค. ๒๕๕๕ ๕. รายงานผลจำนวนผู้เรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ก.ย. ๕๕

๒. ส่งเสริมและจัดการศึกษาตลอดชีวิต ดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบายโดยการจัดเตรียมความพร้อม ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การบริหารจัดการ เช่น จัดหา Tablet เพื่อการส่งเสริมการอ่าน, ติดตั้งสัญญาณ Wi-Fi สำหรับรถโมบาย และเรือห้องสมุด , เผยแพร่หลักสูตร/เนื้อหาในรูปแบบการเรียนผ่าน ETV, Wi-Fi, Tablet และสื่อเอกสาร และจัดทำ โครงการ Tablet เคลื่อนที่สู่ชุมชน* โดยใช้รถโมบาย และเรือห้องสมุด เพื่อเป็นการจัดการศึกษาเชิงรุกในการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ให้กับประชาชน

๒. ส่งเสริมและจัดการศึกษาตลอดชีวิต กิจกรรม ระยะเวลา ๑. สำรวจ วิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย ก.พ. ๕๕ ๒. จัดทำหลักสูตร/เนื้อหาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่ม ๓. จัดเตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน การบริหารจัดการ เช่น จัดซื้อ Tablet, ติดตั้งสัญญาณ Wi-Fi สำหรับรถโมบาย และเรือห้องสมุด, ETV ก.พ. – มี.ค. ๕๕ ๔. เปิดตัวโครงการ Tablet เคลื่อนที่สู่ชุมชน * ๒๓ พ.ค. ๕๕ ๕. เผยแพร่หลักสูตร/เนื้อหาในรูปแบบการเรียนผ่าน ETV, Wi-Fi, Tablet และสื่อเอกสาร เม.ย. – ก.ย. ๕๕ ๖. จัดอบรมพัฒนาบุคลากร มี.ค. – เม.ย. ๕๕ ๗. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรูปแบบที่หลากหลายให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ๘. ติดตามและประเมินผลและรายงาน

๓. จัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด ดำเนินการตามนโยบายการจัดการศึกษาชุมชนเพื่อมุ่งให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้และการศึกษาตลอดชีวิต โดยการจัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัดทุกจังหวัดเพื่อการจัดการศึกษาอาชีพให้กับประชาชนในชุมชน โดยเร่งสำรวจความต้องการฝึกอาชีพของกลุ่มเป้าหมายและจัดลำดับอาชีพยอดนิยมในแต่ละภาค จัดทำหลักสูตรอาชีพและเผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ อาทิ สื่อสิ่งพิมพ์ online Tablet และจัดการศึกษาอาชีพตามความต้องการของประชาชน รวมทั้งจัดเทียบโอนความรู้ผู้ที่ผ่านหลักสูตรการศึกษาอาชีพ เข้าสู่การศึกษาขั้นพื้นฐาน

๓. จัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด กิจกรรม ระยะเวลา ๑. ประชุมคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพจังหวัด ก.พ. ๕๕ ๒. สำรวจความต้องการฝึกอาชีพของกลุ่มเป้าหมายและจัดลำดับอาชีพยอดนิยม ๓. จัดทำแผนความต้องการการฝึกอาชีพและเสนอแผนการฝึกอาชีพให้คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพของสำนักงาน กศน. จังหวัด ก.พ. – มี.ค. ๕๕ ๔. จัดทำหลักสูตรอาชีพจำนวน ๘๐ เรื่อง มี.ค. ๕๕ ๕. จัดพิมพ์เผยแพร่หลักสูตรอาชีพ ๘๐ เรื่อง และเผยแพร่ใน Tablet มี.ค. - เม.ย. ๕๕ ๖. จัดทำคู่มือการดำเนินงานศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เม.ย. ๕๕ ๗. เปิดตัวโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน *

๓. จัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด (ต่อ) กิจกรรม ระยะเวลา ๘. จัดสอนอาชีพตามความต้องการตามแผน เม.ย. – ก.ย. ๕๕ ๙. ดำเนินการเทียบโอนความรู้ พ.ค. – ก.ย. ๕๕ ๑๐. ติดตาม ประเมินผล รายงานผล

๔. พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา การจัดการศึกษาทางไกลและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ผลิต พัฒนา เผยแพร่ สื่อเทคโนโลยีเพื่อการจัดการศึกษาและจัดการศึกษาทางไกล ผ่านสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งสถานี ETV วิทยุศึกษา วิทยุชุมชน อินเทอร์เน็ต เคเบิ้ลทีวี โทรศัพท์มือถือ และสื่ออื่นๆ

๔. พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา กิจกรรม ระยะเวลา ๑. สำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ก.พ. ๕๕ ๒. วิเคราะห์ความต้องการและวางแผนการจัดการศึกษาทางไกลและสื่อเทคโนโลยีที่ใช้ ๓.วิเคราะห์เลือกเนื้อหารายวิชา ก.พ.-มี.ค. ๕๕ ๔. วิเคราะห์เนื้อหาที่ใช้ในการผลิตสื่อให้มีความเหมาะสม ๕. ผลิตและพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาเช่น รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ e-Book e-Learning มี.ค. – ก.ย. ๕๕

๔. พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา กิจกรรม ระยะเวลา ๖. ขยายการดำเนินงานลงพื้นที่ มี.ค.-ก.ย. ๕๕ ๗. ดำเนินการจัดการเรียนการสอน ๘. เผยแพร่สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ๙. ติดตามและประเมินผล ก.ย. ๕๕

๕. Internet กศน.ตำบล เพื่อสนับสนุนนโยบายการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้ทัดเทียมกับนานาชาติ สำนักงาน กศน.จะเร่งดำเนินการพัฒนา กศน.ตำบล ที่เป็นหน่วยจัดการศึกษาในชุมชนให้เป็นศูนย์ Internet กศน.ตำบล เพื่อเป็นแหล่งบริการการสืบค้นข้อมูล เป็นช่องทางการค้าขายสินค้าของประชาชนและชุมชน ทางระบบอินเทอร์เน็ต โดยการจัดหาคอมพิวเตอร์และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้ครบ ๗,๔๐๙ แห่ง ทั่วประเทศ

๕. Internet กศน.ตำบล กิจกรรม ระยะเวลา ๑. จัดทำข้อมูลด้านสารสนเทศของ กศน.ตำบล ดังนี้ ๑) ข้อมูลจำนวนคอมพิวเตอร์ในแต่ละ กศน.ตำบล ๒) ข้อมูลพิกัดพื้นที่ของ กศน.ตำบล ๓) การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ก.พ. – มี.ค. ๕๕ ๒. ประสานการดำเนินงานกับ สพฐ.และกระทรวงไอซีทีเพื่อเชื่อมสัญญาณ Wi-Fi ใน กศน.ตำบลทุกแห่ง ก.พ. – เม.ย. ๕๕ ๓. ให้บริการอินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นข้อมูลใน กศน.ตำบลทุกแห่ง พ.ค. – ก.ย. ๕๕

สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ