ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
Advertisements

โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
วัตถุประสงค์โครงการ 3.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายโดยการอบรมให้ความรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพจิตในครอบครัวและในชุมชน 3.2 พัฒนาตัวอย่างการดำเนินงานสุขภาพจิตในครอบครัวและชุมชนนำไปสู่ชนชนเข้มแข็ง.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงฯ เขตฯ10 ประจำปี วันที่ พ. ย ณ รร
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
แนวทางการบูรณาการ โครงการพัฒนาสุขภาพจิตใน เขต 11 และ 13 ประจำปีงบประมาณ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
สาขาจิตเวช.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
ที่ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อย ละ) หน่วย นับ เป้าหมาย ปี 2557 ข้อมูลพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน ร้อยละของจำนวนครั้งที่รับผิดชอบในการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ 5

ขั้นตอน 6 เดือนแรก การดำเนินงาน หลักฐาน คะแนน 1 สำรวจข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่มารับบริการในหน่วยบริการสาธารณสุขแยกเป็นรายจังหวัดในพื้นที่เขตสุขภาพ - สรุปข้อมูลผู้ป่วยโรคจิตรายคนที่มารับการรักษาที่หน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่จังหวัดของเขตบริการสุขภาพที่รับผิดชอบ (ตามแบบฟอร์ม PSY 1) 2 อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข ได้แก่ แพทย์ พยาบาล/นักวิชาการ/เจ้าพนักงานสาธารณสุข ในทุกหน่วยบริการสาธารณสุข ด้านความรู้เรื่องโรคจิต (หน่วยบริการอย่างน้อย 1 คน) - ทำเนียบ/ทะเบียนของ แพทย์ พยาบาล/นักวิชาการ/เจ้าพนักงานสาธารณสุข ในทุกหน่วยบริการสาธารณสุข ที่เข้ารับการอบรม (หน่วยบริการอย่างน้อย 1 คน) (ตามแบบฟอร์ม PSY 2)

ขั้นตอน 6 เดือนแรก การดำเนินงาน หลักฐาน คะแนน 3 ดำเนินงานตามโครงการการพัฒนาการเข้าถึงบริการโรคจิตในพื้นที่นำร่อง โดย 3.1 กำหนดพื้นที่นำร่อง* ที่มีความเข้มแข็งของเครือข่ายและมีศักยภาพในการดำเนินงานสุขภาพจิตที่เชื่อมโยงกับหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับและชุมชน 3.2 จัดประชุมชี้แจงวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการด้านโรคจิตในพื้นที่นำร่อง 3.3 อบรม อสม. อย่างน้อยร้อยละ 80 ในพื้นที่นำร่อง เอกสารระบุพื้นที่นำร่อง (ตามแบบฟอร์ม PSY 3) - ข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่นำร่อง - จำนวนประชากรในพื้นที่นำร่อง - ข้อมูลการเข้าถึงบริการโรคจิตในพื้นที่ นำร่อง - จำนวนสถานบริการในพื้นที่นำร่อง - วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการด้านโรคจิตในพื้นที่นำร่อง - ทำเนียบ/ทะเบียนของ อสม. ที่เข้ารับการอบรมอย่างน้อยร้อยละ 80 ในพื้นที่นำร่อง (ตามแบบฟอร์ม PSY 4) 2 (1) ขั้นตอน 6 เดือนแรก

ขั้นตอน 6 เดือนหลัง ขั้นตอน การดำเนินงาน หลักฐาน คะ แนน 4 4.1 สนับสนุน เสริมพลัง เพื่อผลักดันการดำเนินงาน 4.2 นิเทศติดตามการดำเนินงานในพื้นที่นำร่อง - รายงานผลการติดตามการดำเนินงานในพื้นที่นำร่อง - สรุปผลการนิเทศการดำเนินงานในพื้นที่นำร่อง 3

ขั้นตอน 6 เดือนหลัง ขั้น ตอน การดำเนินงาน หลักฐาน คะแนน 5 ผลการพัฒนา โดยใช้สูตร 2 จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการ หลังการดำเนินโครงการในพื้นที่นำร่องปี งปม.2557– จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่ได้รับการวินิจฉัยก่อนดำเนินโครงการ x 100 จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการหลังการดำเนินโครงการในพื้นที่นำร่องปีงบประมาณ 2557 คะแนน ผลการดำเนินงาน ไม่เพิ่มขึ้น 0.4 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 0.8 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 1.2 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 1.6 เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 2 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5