ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุปิยา ลิมป์กฤตนุวัตร์ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
ข้อเสนอการปฏิบัติราชการ สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา ประจำปีงบประมาณ พ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
เรื่อง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
กระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงาน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
Work Shop การประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของ มฟล. (VFM)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
คำรับรองผลการปฏิบัติ ราชการ ปี 2553 สำนักงานสหกรณ์จังหวัด อ่างทอง.
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
กลุ่มที่ 3 Result Based Management : RBM
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
4.6 การคำนวณต้นทุนของส่วนราชการ วัตถุประสงค์ ส่วนราชการสามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นมาตรฐานเดียวกัน เปรียบเทียบต้นทุนกันได้ในระหว่างหน่วยงาน.
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
การรายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (KRS) และตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มอำนวยการ.
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ - คิดค้น พัฒนาดัดแปลง และผลิตเครื่องจักรกล เครื่องมือ.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
กลุ่มโรงงานเครื่องจักรกล มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ.
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ประหยัดพลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ปลูกฝัง จิตสำนึก สร้างความตระหนักด้านการ.
สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. จัดทำนโยบาย.
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ 6. บูรณาการความร่วมมือด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
บูรณาการเพื่อบ้านเรา ( พช.) วันพุธที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๔ ณ WAR ROOM กรมการ พัฒนาชุมชน อาคาร บี ศูนย์ราชการเฉลิมพระ เกียรติฯ แจ้งวัฒนะ.
และค่าเป้าหมายรายบุคคล
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ปลูกฝัง จิตสำนึก สร้างความตระหนักด้านการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล แต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล

แนวทางในการแปลงระบบ ประเมินผลลงสู่ระดับบุคคล ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลตัวชี้วัดกรมลงสู่ระดับส่วน /ฝ่ายและระดับบุคคล แนวทางในการแปลงระบบ ประเมินผลลงสู่ระดับบุคคล คำรับรองการปฏิบัติราชการ เป้าประสงค์และตัวชี้วัดในระดับองค์กร ระดับองค์กร ระดับองค์กร บทบาท หน้าที่และภารกิจ ของสำนัก/กองที่สนับสนุน ต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัด ในระดับองค์กร เป้าประสงค์ในระดับสำนัก/กอง ตัวชี้วัดในระดับสำนัก/กอง บทบาท หน้าที่และภารกิจ ในงานประจำของสำนัก/กอง ระดับสำนัก/กอง ข้อเสนอการปฏิบัติราชการ ระดับ ส่วน / ฝ่าย ระดับบุคคล บทบาท หน้าที่ของ บุคคล ที่สนับสนุนต่อ เป้าประสงค์และตัวชี้วัด ของผู้บังคับบัญชา งานที่ได้รับ มอบหมาย เป็นพิเศษ เป้าประสงค์ในระดับบุคคล ตัวชี้วัดในระดับบุคคล บทบาท หน้าที่งาน ของบุคคล (Job Description) ระดับบุคคล แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน

ปัจจัยสำคัญสำหรับจัดทำ KPI รายบุคคล แหล่งที่มาของการกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล KPI หลัก KPI หลัก KPI หลัก/รอง KPI หลัก/รอง KPI รอง JD แผนหน่วยงาน Deploy KPI ปีที่ผ่านมา (Bas line Data) รักษาการ/ช่วยงาน/ทำแทน/งานฝาก

ประเภทของตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน ด้านคุณภาพ (Quality) เช่น ข้อร้องเรียน ความพึงพอใจของลูกค้า ด้านปริมาณ (Quantity) เช่น จำนวนหน่วยที่ผลิต จำนวนโครงการที่สำเร็จ ปริมาณการให้บริการ ด้านเวลา (Timeless) เช่น งานเสร็จตามวันครบกำหนด งานเสร็จภายในรอบเวลา ด้านความคุ้มค่าของต้นทุน (Cost Effectiveness) เช่น จำนวนเงินที่ใช้จ่าย จำนวนคำแนะนำที่มีการปฏิบัติตาม ค่าใช้จ่ายนอกเหนืองบประมาณ

กำหนดตัวชี้วัดในจำนวนที่เหมาะสม ครอบคลุมเนื้องานหรือ ความคาดหวังสำคัญ ไม่กำหนดตัวชี้วัดที่ซ้ำซ้อนโดยไม่จำเป็น จำนวนตัวชี้วัดที่เหมาะสม :ระหว่าง 3-7 ตัวแต่ไม่ควรเกิน 10 ตัว ตัวชี้วัดควรเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญ และไม่ควรมีจำนวนมากนัก ตัวชี้วัดแต่ละตัวควรมีน้ำหนักไม่น้อยกว่า 10 % โดยในการกำหนดน้ำหนักตัวชี้วัดควรคำนึงถึง ปริมาณงาน  ผลกระทบและความสำเร็จ  เวลาที่ใช้