“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

สุปิยา ลิมป์กฤตนุวัตร์ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 13
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
พิธีเปิดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
4.6 การคำนวณต้นทุนของส่วนราชการ วัตถุประสงค์ ส่วนราชการสามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นมาตรฐานเดียวกัน เปรียบเทียบต้นทุนกันได้ในระหว่างหน่วยงาน.
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
กรณีความเสี่ยง DMSc.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.
ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่างสำหรับนักทรัพยากรบุคคล
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Balanced Scorecard ( BSC ).
Nakhon Sawan Survey “ เท่าเทียม ทั่วถึง ทุกท้องที่ ”
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการแนวใหม่
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
การเขียนโครงการ.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การจัดทำคำรับรองการ ปฏิบัติราชการ กลุ่มนโยบายและ ยุทธศาสตร์
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
และค่าเป้าหมายรายบุคคล
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล” โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (กพร.) กรมราชทัณฑ์

Coperate Scorecard ตัวชี้วัดระดับองค์การ Department Scorecard ตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน Individual Scorecard ตัวชี้วัดระดับบุคคล

ที่มาและความสำคัญ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2551-2555) แนวทางการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ( New public management ) การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ( Result ) การกำหนด/ถ่ายทอดตัวชี้วัด/การประเมินผลการปฏิบัติราชการ

การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ RESULTS BASED MANAGEMENT (RBM ) คือ วิธีการบริหารจัดการที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์หรือ ผลการปฏิบัติงานเป็นหลัก โดยมีการวัดผลการปฏิบัติงาน ด้วยตัวชี้วัดอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลสัมฤทธิ์ (RESULTS) ผลผลิต (OUTPUTS) ผลลัพธ์ (OUTCOMES) = +

สภาพเศรษฐกิจและสังคม กระบวนการการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ สภาพเศรษฐกิจและสังคม ความต้องการจำเป็น เป้าหมาย ปัจจัยนำเข้า -กำลังคน -อุปกรณ์/เครื่องใช้ -งบประมาณ กระบวนการ -กระบวนการบริหาร และดำเนินงาน - ระบบข้อมูล - ระบบการให้บริการ - ระบบการตัดสินใจ ผลผลิต ผลงานที่ตั้งเป้าไว้ (เช่น ระยะทางที่ก่อสร้างแล้วเสร็จ ) ผลลัพธ์ - ผลกระทบ/ ประโยชน์ (เช่น ประชาชนได้ใช้ถนน ทช.ด้วยความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย ) ประหยัด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุณภาพการให้บริการ ผลสัมฤทธิ์ ข้อมูลป้อนกลับ

นิยามของการประเมินผลการปฏิบัติงาน “การประเมินผลการปฏิบัติงาน เป็นการประเมินผลการทำงานที่ผ่านมาตามช่วงเวลาที่ได้กำหนดไว้ โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐาน(Performance Standard)”

ทำไมถึงต้องมีระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน From Good To Great องค์การ องค์การ ฝ่าย ฝ่าย

KRA = Key Result Area คืออะไร ? KRA คือผลลัพธ์ (Output & Outcome) ที่มีความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กร ที่แต่ละตำแหน่งต้องทำ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายขององค์กร หากไม่ทำองค์กรจะได้รับความเสียหาย

Key Result Area KRA คือสิ่งที่มีความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กร ผู้บริหารจะต้องพิจารณาว่าอะไรคือสิ่งที่มีความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กร ซึ่งองค์กรจะต้องทำหรือให้ความสนใจ เพื่อที่จะทำให้องค์กรประสบความสำเร็จ อะไรคือสิ่งที่จะต้องวัดหรือประเมินว่าองค์กรประสบความสำเร็จใน KRA ด้านนั้น ๆ

FOOTBALL KRA = เอาชนะเกมการแข่งขัน KPI = จำนวนประตูที่ยิงได้ (เห็นได้ชัดเจน) Challenge = กองหลัง หรือ ผู้รักษาประตูวัดผลอย่างไร

ตัวชี้วัด Key Performance Indicator : KPIs ตัวชี้วัด(KPIs) เป็นดัชนีหรือ หน่วยวัดความสำเร็จของการปฏิบัติงานที่กำหนดขึ้น โดยเป็นหน่วยวัดที่แสดงผลสัมฤทธิ์ของงาน และสามารถแยกแยะความแตกต่างของผลการปฏิบัติงานได้ ดังนั้น ตัวชี้วัดต้องใช้คำขึ้นต้นเป็นหน่วยวัดเสมอ เช่น ร้อยละ / จำนวน / ระดับ เป็นต้น การกำหนดตัวชี้วัดต้องให้สอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas : KRAs) ซึ่งส่วนใหญ่สะท้อนถึง ผลที่ได้รับตามมา(outcome) หรือผลผลิต (Output)

“หากไม่สามารถวัดหรือประเมินทรัพยากรบุคคลได้ ก็ไม่สามารถบริหารทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรได้”

ถ่ายทอดเป้าหมายผลการปฏิบัติงาน ตามลำดับชั้นการบังคับบัญชา เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายตามภารกิจและอื่นๆ หัวหน้า ส่วนราชการ รองหัวหน้า ส่วนราชการ ผู้อำนวยการ ระดับส่วน/ฝ่าย หัวหน้าหน่วยงานภายใต้ ส่วน/ฝ่าย ผู้ปฏิบัติงานที่ไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชา