CHARPTER 9 การเชื่อมเทเบิล JOIN…. TABLE.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC421 File and Database Lab
Advertisements

UPDATING DATA By SQL (SA&D-9)
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
HO Session 14: Database Design Principles
เสรี ชิโนดม MS SQLServer 7 เสรี ชิโนดม
12. การบันทึกข้อมูลลงในตาราง
กลุ่มคำสั่ง SQL สามารถแบ่งได้ดังนี้
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
เนื้อหา 1. สืบค้นข้อมูลจากหนึ่งตาราง
Create Table in MS Access
Chapter VII : การแก้ไขข้อมูล
ตัวอย่างการสร้าง Class Diagram
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
MS Excel Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรยชีต (Speadsheet) หรือโปรแกรมตาราง งาน ซึ่งจะเก็บข้อมูลต่าง ๆ ลงบน แผ่นตารางงาน คล้ายกับการเขียน ข้อมูลลงไปในสมุดที่มีการตีช่องตาราง.
Security and Integrity
ภาษา SQL (Structured Query Language)
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
บทที่ 5 การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชั่น สำหรับการคำนวณทางคณิตศาสตร์
การเลือกข้อมูลชุด ด้วยคำสั่ง IN
Normalization.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Project Management.
การวางแผนและการดำเนินงาน
MySQL.
ข้อดีของฐานข้อมูล 1. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล โดยข้อมูลเรื่องเดียวกันอาจมีอยู่หลายแฟ้มข้อมูล ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลได้
SQL - Structured Query Language
บทที่ 3 แบบจำลองข้อมูล Data Models Calculus
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
Chapter 8 : การควบคุมความปลอดภัย (Security Control)
แก้ไขข้อมูลที่ไม่สามารถกรอกเป็นภาษาไทยได้
โปรแกรม Microsoft Access
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การทำงานกับตาราง รายวิชา เทคโนโลยี 1 รหัสวิชา ง21102
Creating Database With Structure Query Language (SA&D-8)
ค้นหาข้อมูลที่ต้องการจากฐานข้อมูล (SA&D-10)
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
ข้อมูลที่ป้อนลงกระดาษทำการไปแล้ว สามารถแทรกเพิ่มเติมได้โดยใช้หลักการแทรกแถว ดังนี้ Click เมาส์ ณ ตัวเลขแถวที่ต้องการแทรก เลือกคำสั่ง Insert, Rows หรือคลิกขวาแล้วเลือก.
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
Chapter V : แสดงรายการจากฐานข้อมูล
SQL Structured Query Language.
การเพิ่มสไลด์แบบตาราง Table
การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชั่นสำหรับ
CHARPTER 4 การสอบถามข้อมูลแบบมีเงื่อนไข
CHARPTER 3 การสอบถามข้อมูลพื้นฐาน
การสอบถามข้อมูลแบบซ้อนกัน
SQL เพื่อควบคุมความปลอดภัย (Week 2). การควบคุมการเข้าถึงข้อมูล ระบบการจัดการข้อมูลโดยส่วนใหญ่จะมีกลไกที่ ทำให้แน่ใจได้ว่าเฉพาะผู้มีสิทธิเท่านั้นที่ สามารถเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูล.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
PHP & MySQL ระบบจัดการสินค้า
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
โรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ บทเรียนออนไลน์
โปรแกรม Microsoft Access
การใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล Mysql ผ่าน phpmyadmin
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
SML Report Designer การออกแบบรายงาน.
CHAPTER 12 SQL.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database)
ADO.NET (การบริหารและจัดการข้อมูล)
SQL Structured Query Language.
SQL (Structure Query Language) ตอนที่ 2 Online available at
SQL - Structure Query Language (Part 2) ภาษามาตรฐานสำหรับนิยาม ข้อมูลและการใช้ข้อมูล A ระบบจัดการฐานข้อมูล 3(2-2) อ. ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ.
Lecture 5 SQL (Structured Query Language)
Nested loop.
1 Introduction to SQL กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
Lecture 5 SQL (Structured Query Language)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CHARPTER 9 การเชื่อมเทเบิล JOIN…. TABLE

สาระการเรียนรู้ เพื่อศึกษาถึงหลักการสอบถามข้อมูลจากหลาย ๆ ตารางพร้อมกัน โดยการใช้คำสั่ง JOIN ซึ่งประกอบด้วยการ JOIN แบบ Equi Join, Self Join, Outer Join

การเชี่อมเทเบิล (JOIN TABLE) การทำนอร์มัลไลซ์เพื่อลดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูล ที่เกี่ยวข้อง กันถูกแยกจากกันพร้อม ๆ กันกับการแบ่งตารางออกเป็นตารางย่อยได้ ซึ่งถ้าต้องการ นำข้อมูลเหล่านั้นมาใช้งานร่วมกันอีกครั้งก็จะต้องใช้วิธีการ JOIN

รูปแบบของคำสั่ง รูปแบบคำสั่ง SELECT แสดงได้ดังรูปแบบดังนี้ SELECT column_list FROM table1, table2 Where [table1.]column1=[table2.]column2;

SELECT column_list = เลือกแสดงคอลัมน์ที่ต้องการ โดยสามารถเลือกคอลัมน์ใด ก็ได้จากตาราง table1 และ table2 FROM table1, table2 = ชื่อตาราง 2 ตารางซึ่งเก็บข้อมูลที่เราสนใจและมีความสัมพันธ์ กันผ่านคมลัมน์ใดคอลัมน์หนึ่งกำหนดเงื่อนไขในการ join Where [table1.]column1 = กำหนดชื่อคอลัมน์จากทั้งสองตารางซึ่งเก็บข้อมูลความหมาย [table2.]column2; เดียวกัน (คอลัมน์ทั้งสองไม่จำเป็นต้องมีชื่อคอลัมน์เหมือนกัน) โดยต้องระบุทั้งชื่อตารางและชื่อคอลัมน์ด้วยถ้าชื่อคอลัมน์ ทั้งสองซ้ำกัน

การ JOIN TABLE ซึ่งประเภทของการ JOIN มีทั้งหมด 3 ประเภทได้แก่ 1) การเชื่อมเทเบิล (Equi join) 2) การเชื่อมเทเบิล (Self join) 3) การเชื่อมเทเบิล (Outer join)

การ JOIN TABLE แบบ Equi join

การ JOIN TABLE แบบ Equi join

การ JOIN TABLE แบบ Equi join คำสั่ง SQL การเชื่อมเทเบิล (Equi join) Select E.ENAME, E.DEPTNO, D.DEPNO, D.DNAME From EMP E, DEPT D Where E.DEPTNO, D.DEPTNO

การ JOIN TABLE แบบ Equi join ตัวอย่างที่ 9_1 จงทำการสอบถามข้อมูลจาก Database School โดยให้แสดงข้อมูล รหัสวิชา, ชื่อวิชา และอาจารย์ผู้สอนในวิชานั้น ๆ ทั้งหมด 1 M

การ JOIN TABLE แบบ Equi join คำสั่ง SQL select subject.subjectid, name, teacher from subject, teacher where subject.subjectid=teacher.subjectid; ผลลัพธ์

การ JOIN TABLE แบบ Self join EMP (WORKER) EMP (MANAGER)

การ JOIN TABLE แบบ Self join

การ JOIN TABLE แบบ Self join คำสั่ง SQL การเชื่อมเทเบิล (Self join) Select worker.ename ||’work for’||manager.ename From emp worker,emp manager Where worker.mgr = manager.empno ผลลัพธ์

การ JOIN TABLE แบบ Outer join ทางด้านขวามือ

การ JOIN TABLE แบบ Outer join 2) การเชื่อมเทเบิล (LEFT Outer join)

การ JOIN TABLE แบบ Outer join 2) การเชื่อมเทเบิล (RIGH Outer join)

การ JOIN TABLE แบบ Outer join ตัวอย่างที่ 9_2 จงทำการสอบถามข้อมูลจาก Database School โดยให้แสดงข้อมูล รหัสวิชาและชื่อวิชาทั้งหมดพร้อมทั้งชื่ออาจารย์ผู้สอนวิชานั้น ๆ (ถ้ามี) 1 M

การ JOIN TABLE แบบ Outer join คำสั่ง SQL SELECT a.subjectid, name, teacher from subject as a left JOIN teacher as b ON a.subjectid=b.subjectid; ผลลัพธ์

การ JOIN TABLE แบบ Outer join คำสั่ง SQL SELECT a.subjectid, name, teacher from subject as a left JOIN teacher as b ON a.subjectid=b.subjectid; ผลลัพธ์

สรุปท้ายบทเรียน หลักการเชื่อมเทเบิลหลายเทเบิลและแสดงเป็นเทเบิลสมมติเพื่อเก็บ ผลลัพธ์ซึ่งข้อมูลแต่ละคอลัมน์ได้มาจากเทเบิลที่ระบุ ข้อมูลแต่ละแถวนั้นมา จากการเรียงต่อข้อมูลแถวต่อจากแถวหลายเทเบิล โดยสามารถเลือกเฉพาะ แถวที่มีเงื่อไขตรงตามที่ระบุได้โดยลักษณะของการเชื่อมมี 3 แบบ ด้วยกันคือ Equi Join,Self Join และ Outter Join

THE END