การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชั่นสำหรับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
UPDATING DATA By SQL (SA&D-9)
Advertisements

ครั้งที่ 9 Function(ต่อ).
การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
12. การบันทึกข้อมูลลงในตาราง
สื่อการเรียนรู้ โดย นางสุมิตรา ดีมี
กลุ่มคำสั่ง SQL สามารถแบ่งได้ดังนี้
ระบบสรุปเอกสารภาษาไทย Thai-Text Summarization
LAB # 2.
Computer Programming 1 6. โปรแกรมต่อไปนี้เป็นโปรแกรมสำหรับรับค่า N และรับจำนวนเต็มที่มีค่าระหว่าง 0 ถึง 9 จำนวน N ตัว นับจำนวนเต็มแต่ละค่าที่ป้อนแล้วแสดงผล.
เนื้อหา 1. สืบค้นข้อมูลจากหนึ่งตาราง
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
โดย ศศิธร อารยะพูนพงศ์ สำนักคอมพิวเตอร์
เฉลย Lab 10 Loop.
MS Excel Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรยชีต (Speadsheet) หรือโปรแกรมตาราง งาน ซึ่งจะเก็บข้อมูลต่าง ๆ ลงบน แผ่นตารางงาน คล้ายกับการเขียน ข้อมูลลงไปในสมุดที่มีการตีช่องตาราง.
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
บทที่ 5 การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชั่น สำหรับการคำนวณทางคณิตศาสตร์
Normalization.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Structured Query Language (SQL) (2)
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน
Chapter 8 : การควบคุมความปลอดภัย (Security Control)
แก้ไขข้อมูลที่ไม่สามารถกรอกเป็นภาษาไทยได้
2.5 ตัวแปรชุดมิติเดียวและตัวแปรชุดสองมิติ
Database Programming Exceed Camp #2 24 October 2005.
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
สร้าง Query ในมุมมอง Design
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
Creating Database With Structure Query Language (SA&D-8)
ค้นหาข้อมูลที่ต้องการจากฐานข้อมูล (SA&D-10)
SQL Structured Query Language.
CHARPTER 4 การสอบถามข้อมูลแบบมีเงื่อนไข
CHARPTER 3 การสอบถามข้อมูลพื้นฐาน
การสอบถามข้อมูลแบบซ้อนกัน
CHARPTER 9 การเชื่อมเทเบิล JOIN…. TABLE.
การใช้ Word เพื่อการคำนวณ
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
Computer Programming for Engineers
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
2.3.1 รหัสเทียม (Pseudo code)
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลMySQL
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลผ่าน ODBC
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
SML Report Designer การออกแบบรายงาน.
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
CHAPTER 12 SQL.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database)
SQL Structured Query Language.
SQL (Structure Query Language) ตอนที่ 2 Online available at
SQL - Structure Query Language (Part 2) ภาษามาตรฐานสำหรับนิยาม ข้อมูลและการใช้ข้อมูล A ระบบจัดการฐานข้อมูล 3(2-2) อ. ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ.
SQL (Structure Query Language) ตอนที่ 1
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูล
Introduction to SQL - 3 (MySQL) – Special Problem (Database)
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
1 Introduction to SQL กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ประเภทของคำสั่งของภาษา SQL
Database Design & Development
ภาษา SQL (Structured Query Language)
SQL (Structured Query Language)
Chapter 9 : ภาษาทางด้านฐานข้อมูลคำสั่ง SQL (SQL Command)
SQL – Web Programming and Web Database
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
การจัดการข้อมูลขั้นสูง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชั่นสำหรับ CHARPTER 6 การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชั่นสำหรับ กลุ่มข้อมูล

สาระการเรียนรู้ 1. เพื่อศึกษาถึงวิธีการเขียนฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร์ในการคำนวณ แบบ กลุ่ม 2. เพื่อศึกษาการใช้ฟังก์ชั่น AVG, SUM, MIN, MAX, COUNT เลือกกลุ่มข้อมูลแบบมีเงื่อนไขโดยใช้ Having

การแสดงผลและคำนวณค่าที่ได้ คำนวณแต่ละค่าที่ได้ อธิบายฟังก์ชั่นที่ใช้หาค่าของกลุ่มข้อมูลที่ได้ เช่น ค่าเฉลี่ย ผลบวก ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด และการนับจำนวนข้อมูลดังแสดงในตาราง

เลือกกลุ่มข้อมูลโดยใช้ HAVING โดยปกติถ้าใช้คำสั่ง Group By จะแสดงผลได้ครั้งละ 1 แถว ซึ่งหากต้อง การสอบถามข้อมูลแบบกลุ่มจำเป็นต้องใช้คำสั่ง Having ซึ่งคำสั่ง Having จะใช้ สำหรับสอบถามข้อมูลแบบมีเงื่อนไข การคำนวณแต่ไม่สามารถกำหนดในส่วนของ Where ได้ดังนั้นต้องกำหนดไว้ในส่วนของ Having

เลือกกลุ่มข้อมูลโดยใช้ HAVING รูปแบบคำสั่ง HAVING ฟังก์ชั่นสามารถทำได้ตามรูปแบบคำสั่ง SQL SELECT column1[,column2, …] FROM table-name GROUP BY group1[,group2, ..] HAVING group_condition;

เลือกกลุ่มข้อมูลโดยใช้ HAVING SELECT column เลือกคอลัมน์ที่ต้องการแสดง FROM table-name ชื่อตารางซึ่งเก็บข้อมูลที่เราต้องการคิวรี GROUP BY group1 แบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่มตามคอลัมน์ที่กำหนดในส่วน Group by HAVING ประโยค HAVING ใช้ในการกำหนดเงื่อนไข ซึ่งจะ มีการเลือกเฉพาะกลุ่มข้อมูลที่ตรงกับเงื่อนไขขึ้นมา แสดงเท่านั้น Group_condition เงื่อนไขที่ต้องการกำหนด โดยสามารถใช้โอเปอเร เตอร์ต่างๆ ได้เช่นเดียวกับเงื่อนไขที่กำหนดในส่วน where

เลือกกลุ่มข้อมูลโดยใช้ HAVING ตัวอย่าง จงทำการสอบถามข้อมูลจาก Database School โดยใช้คำสั่ง Having เพื่อ สอบถามข้อมูลรายวิชาที่มีนักศึกษาเรียนทั้งหมดในกลุ่มจาก ตาราง student_subject select subjectid, count(*) from teacher group by subjectid having count(*)>=2; ผลลัพธ์

คำสั่งฟังก์ชั่น SQL (Function) SELECT function (column-name or *) FROM <table-name>;

การคำนวณหาผลรวมด้วย SUM ตัวอย่างที่ 6 จงทำการสอบถามข้อมูลจาก Database School โดยหาผลรวมจากคะแนนที่นักศึกษาแต่ละคนสอบได้ SELECT sum(score) as ผลรวมคะแนน FROM student_subject; ผลลัพธ์

การคำนวณหาค่าเฉลี่ยด้วย AVG ตัวอย่างที่ 6_1 จงทำการสอบถามข้อมูลจาก Database School โดยหาค่าคะแนน เฉลี่ยจาก คะแนนที่นักศึกษาสอบโดยเลือกจาก table Student_Subject SELECT AVG(score) as ค่าเฉลี่ยคะแนน from student_subject; ผลลัพธ์

การคำนวณการนับจำนวนข้อมูลด้วย COUNT() ตัวอย่างที่ 6_2 จงทำการสอบถามข้อมูลจาก Database School ว่ามีจำนวนอาจารย์กี่คนในตาราง Teacher SELECT count(*) as จำนวนอาจารย์ from teacher; ผลลัพธ์

การคำนวณหาค่าสูงสุดด้วย MAX() ตัวอย่างที่ 6_3 จงทำการสอบถามข้อมูลจากDatabase School โดยหาคะแนนสูงสุด ที่นักศึกษาสอบได้จากตาราง student_subject SELECT Max(score) AS ค่าสูงสุด FROM student_subject; ผลลัพธ์

การคำนวณหาค่าสูงสุดด้วย MIN() ตัวอย่างที่ 6_4 จงทำการสอบถามข้อมูลจากDatabase School โดยหาคะแนนน้อยที่สุด ที่นักศึกษาสอบได้จากตาราง student_subject SELECT Min(score) AS ค่าที่น้อยที่สุด FROM student_subject; ผลลัพธ์

การคำนวณการนับจำนวนข้อมูลด้วย COUNT() & DISTINCT ตัวอย่าง 6_5 จงทำการสอบถามข้อมูลจาก Database School แสดงจำนวนนักศึกษาทั้ง หมด พร้อมทั้งระบุ รหัสนักศึกษา และ รหัสนักศึกษา ที่ไม่ซ้ำกันทั้งหมดที่นักศึกษา ได้ทำการสอบ จากตาราง Student_Subject SELECT count(*) AS Total, count(distinct studentid) AS รหัสนักศึกษา, count(distinct subjectid) AS รหัสวิชา FROM student_subject; ผลลัพธ์ Total รหัสนักศึกษา รหัสวิชา

การใช้ฟังก์ชั่น ร่วมกับประโยคคำสั่งย่อย WHERE ตัวอย่าง6_6 จงทำการสอบถามข้อมูลจาก Database School โดยอยากคะแนนเฉลี่ย เฉพาะรหัสวิชา I001 SELECT avg(score) as ค่าเฉลี่ยเฉพาะวิชา FROM student_subject where subjectid = 'I001'; ผลลัพธ์

**แบบทดสอบท้ายบทเรียน ** Exam 6_1 จงทำการสอบถามข้อมูลจาก Database School โดยอยากทราบคะแนน ทั้งหมด, คะแนนเฉลี่ย, คะแนนสูงสุด, คะแนนต่ำสุด ทั้งหมดของนักศึกษาพร้อมทั้ง แสดงหัวข้อให้ตรงกับข้อมูลที่ต้องการหา จากตาราง Student_Subject SELECT sum(score) as ผลรวมคะแนน, avg(score) as ค่าเฉลี่ยคะแนน, max(score) as คะแนนสูงสุด, min(score) as คะแนนน้อยที่สุด from student_subject; ผลลัพธ์

**แบบทดสอบท้ายบทเรียน ** Exam 6_2 จงทำการสอบถามข้อมูลจาก Database School โดยอยากทราบชมรมทั้งหมด ในโครงเรียนที่ไม่ซ้ำกัน SELECT club from club group by club; ผลลัพธ์

**แบบทดสอบท้ายบทเรียน ** Exam 6_3 จงทำการสอบถามข้อมูลจาก Database School โดยอยากทราบชมรมทั้งหมด ที่มีสามาชิก = 3 คน SELECT club,count(*) as จำนวน3 from club group by club having count(club)=3; ผลลัพธ์

**แบบทดสอบท้ายบทเรียน ** Exam 6_4 จงทำการสอบถามข้อมูลจาก Database School แสดงชื่องานอดิเรกและ จำนวนนักศึกษาที่มีงานอดิเรกนั้น เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย SELECT hobby, count(hobby) from hobby group by hobby order by count(*) DESC; ผลลัพธ์

สรุปท้ายบทเรียน บทเรียนเรียนนี้เป็นการศึกษาถึงฟังก์ชั่นเชิงคณิตศาสตร์ที่ใช้สำหรับกลุ่ม หรือเซ็ตของข้อมูล เพื่อหาค่าเฉลี่ย ผลบวก ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด และการนับจำนวน ข้อมูล โดยใช้ฟังก์ชั่นคณิตศาสตร์ AVG, SUM, MIN, MAX และ COUNT ตลอดจน การจัดกลุ่มข้อมูลด้วย Having

THE END