โครงการ การวิจัยระบบบริการทางการแพทย์ของประเทศไทย ผ่านตัวแบบผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสรุปผลงานวิจัย โดย รศ.ดร.ดำรงค์ วัฒนา 7 กันยายน 2553.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ทำวิจัยนโยบายอย่างไรให้ได้ประโยชน์
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
หมวด2 9 คำถาม.
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานการควบคุมภายใน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเขียนข้อเสนอโครงการ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
หลักการเขียนโครงการ.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ การวิจัยระบบบริการทางการแพทย์ของประเทศไทย ผ่านตัวแบบผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสรุปผลงานวิจัย โดย รศ.ดร.ดำรงค์ วัฒนา 7 กันยายน 2553

หลักการและเหตุผล ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความสำคัญต่อความสำเร็จในระบบระบบบริการทางการแพทย์ การสนับสนุนและการต่อต้านจากกลุ่มต่างๆ เป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งยวดต่อการดำเนินงานของระบบฯ ที่จะต้องทำความเข้าใจให้ถ่องแท้ เพื่อเป็นความรู้ในการขับเคลื่อนระบบฯ ไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมาย การศึกษาวิจัยตามตัวแบบผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจึงเป็นหัวใจสำคัญของพัฒนาระบบฯ ตามการจัดการสมัยใหม่ ตามบริบทของธรรมาภิบาล

วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อ เพื่อวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการบริการระบบบริการทางการแพทย์และจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย วัตถุประสงค์เฉพาะ เพื่อ กำหนดผู้มีส่วนได้เสียในระบบบริการทางการแพทย์ ประเมินผู้มีส่วนได้เสียในระบบบริการทางการแพทย์ จัดกลุ่มและวิธีบริหารจัดการกลุ่มต่างๆ นำเสนอวิธีการสร้างแรงสนับสนุนจากผู้มีส่วนได้เสีย ในการพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : นิยาม บุคคล กลุ่มคน หรือสถาบันที่มีความสนใจในโครงการ หรือกิจการใดๆ เป็น ผู้ที่ได้รับผลกระทบ ทั้งทางบวกและทางลบ ทั้งทางตรง และทางอ้อมจากการดำเนินการของระบบบริการทางการแพทย์ เช่น ประชาชน ชุมชนในท้องถิ่น บุคลากรในส่วนราชการผู้ส่งมอบงาน รวมทั้งผู้รับบริการด้วยเป็นต้น Persons/groups/institutions with interests. Primary VS Secondary Positive VS negative Winners VS losers Involved VS Excluded from decision-making processes

ประเภทผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประเภทผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามมาตรวัดดัชนีของอำนาจ อิทธิพล และผลประโยชน์ ประเภทผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ชื่อกลุ่ม อำนาจ อิทธิพล ผลประโยชน์ 1. Definitive stakeholder ผู้ที่แน่ชัด สูง Expectant stakeholder ผู้ที่คาดหวัง 2. Dominant stakeholder ผู้ที่ครอบงำ 3. Dangerous stakeholder ผู้ที่อันตราย 4. Dependent stakeholder ผู้ที่อิสระ Latent stakeholder ผู้ที่ซ่อนเร้น 5. Dormant stakeholder ผู้ที่เป็นพลังเงียบ 6. Discretionary stakeholder ผู้ที่รักษาตัวรอด 7. Demanding stakeholder ผู้ที่เรียกร้อง

การจำแนกกลุ่มผลประโยชน์ตามลักษณะสำคัญสามประการ ประเภทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Typologies of Stakeholder) 1. กลุ่มแน่ชัด (Definitive) ผู้ที่คาดหวัง (Expectant stakeholder) 2. ผู้ที่ครอบงำ (Dominant) 3. ผู้ที่อันตราย (Dangerous) 4. ผู้ที่อิสระ (Dependent) ผู้ที่ซ่อนเร้น (Latent stakeholder) 5. ผู้ที่เป็นพลังเงียบ (Dormant) 6. ผู้ที่รักษาตัวรอด (Discretionary) 7. ผู้ที่เรียกร้อง (Demanding)

วิธีการศึกษา (Approach) (1) กำหนดคน กลุ่ม หน่วยงาน สถาบัน ที่มีอิทธิพลต่อระบบบริการฯ ประเมินลักษณะของอิทธิพลที่มีต่อระบบบริการฯ พัฒนากลยุทธ์ในการสร้างแรงสนับสนุน และลดการต่อต้าน ให้ได้มากที่สุด อาศัยวิธีเชิงปริมาณประกอบเชิงคุณภาพ

ขั้นตอนการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก และนิยามให้ชัดเจน สามารถระบุได้หลายระดับ - ระดับท้องถิ่น - ระดับพื้นที่ - ระดับชาติ

2. การวิเคราะห์ในประเด็นดังนี้ บทบาทที่เกี่ยวข้องกับระบบ (Role) ความสนใจ (interest) พลังอำนาจเชิงสัมพัทธ์ (relative power) ความสามารถในการเข้ามามีส่วนร่วมจัด การศึกษา (Capacity to participate)

เครื่องมือในการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ผลที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับ ประเมินผลกระทบ วิธีการที่ทำให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้การสนับสนุน หรือลดการต่อต้าน 1. ………………….. น้อย กลาง มาก 2. ………………….. 3. ………………….. วิธีการที่ทำให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้การสนับสนุน หรือลดการต่อต้าน เช่น การให้ข้อมูล มีส่วนร่วมในการวางแผน ป้องกันไม่ให้กลุ่มอื่นยุยง ความสำคัญของผลที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับ ต่อความสำเร็จของระบบบริการทางการแพทย์ฯ (แรงสนับสนุน หรือแรงต้านที่อาจเกิดได้) ประโยชน์ที่ได้รับ หรือความเสียหาย หรือความขัดแย้ง ที่เกิดกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระบบบริการทางการแพทย์ กดราคา สช. สถาบัน การศึกษา ฝ่ายผู้ซื้อ สื่อมวล ชน สภาวิชาชีพ NGOs ส. ทั้งหลาย แพทยสภา นักการ เมือง คุ้มครองผู้บริโภค HA cert. ฝ่ายกำหนดนโยบาย ศาล สถาน พยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ (provider) ประชาชน ผู้ป่วย บริษัทยา อสม. Supply chain ทุกข์ จากปัญหาสุขภาพ อายุเฉลี่ยสูงขึ้น ต้องการตรวจรักษาเพิ่ม ความคาดหวังสูง เรียกร้องสิทธิผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตัวเอง เรียนรู้ Risk& patient care ภาระงาน ตรวจรักษา 180 ล้านครั้งต่อปี จำนวนแพทย์ ~37,000 คน กระจายแพทย์ - ก.สธ. 11,500 คน - ก.ศธ. 8,000 คน - ทหาร/ตร/กทม/รัฐ 3,000 คน - เอกชน 5,000 คน - เกษียณ 3,000 คน - อื่นๆ 6,000 คน ผลิตแพทย์ 16-19 คณะ นศ. 8,000 จบ 1,500-2000 แพทย์ทางเลือก ความรู้ ประกันสุขภาพส่วนตัว ปัจจัยอื่นๆ ฐานะ

การวิเคราะห์ข้อมูล

การจำแนกและความสัมพันธ์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นักการเมือง/รัฐบาล

Stakeholder Mapping

การจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Management) วิธีการบริหารจัดการสี่วิธี: 1) ร่วมงาน (Partner): ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแน่ชัด 2) ปรึกษา (Consult): ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคาดหวัง 3) ให้ข้อมูล (Inform): ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียซ่อนเร้น 4) ควบคุม (Control): (กลุ่มอื่นๆ)

การบริหารจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Manage Closely =ร่วมงาน (Partner) Keep satisfied =ปรึกษา (Consult) นักการเมือง/รัฐบาล Keep informed =ให้ข้อมูล (Inform) Monitor =ควบคุม (Control)

ข้อเสนอวิธีการบริหารกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสร้างความสมประโยชน์ให้ทุกฝ่าย การเพิ่มบทบาทของภาคประชาชน ในกระบวนการนโยบายและระบบการบริหารจัดการบริการทางการแพทย์ การส่งเสริมให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียประเภทผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่แน่ชัด และประเภทผู้มีส่วนได้ส่วนเสียผู้ครอบงำ ให้มุ่งเน้นการตอบสนองผู้ป่วย และประชาชน

THANK YOU For more information รศ.ดร. ดำรงค์ วัฒนา ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ โทร. 0-2218-7239 E-mail: http://pioneer.chula.ac.th/~wdamrong Key Message: Slide Builds: wdamrong@hotmail.com