ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับสตริง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
BC320 Introduction to Computer Programming
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
การรับค่าและแสดงผล.
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
Data Type part.II.
CS Assembly Language Programming
การใช้ PHP ติดต่อกับ Text File
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
การสร้าง Random ตัวเลขซ้ำและไม่ซ้ำ การเรียกดูไฟล์ในโฟลเดอร์ Function
ฟังก์ชันของ PHP ฟังก์ชันคือ โปรแกรมย่อยที่สามารถประมวลผล และ คืนผลลัพธ์จาการประมวลผลนั้นสู่โปรแกรมหลักได้ ซึ่งจำเป็นในการเขียนโปรแกรมเพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น.
Functions & Sub Program ฟังก์ชันและโปรแกรมย่อย
FUNCTION File Week 7 by Mr. Jiraphan Srisomphan. 2 แสดงชื่อไฟล์ในไดเรกทรอรี่ด้วย Dir() >Handle-> เก็บค่าเลขรหัสของได เรกทรอรี่ที่สร้างขึ้น >Path-> เก็บรายชื่อพาธของไดเรก.
การจำแนกบรรทัดข้อความ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
อาร์เรย์และข้อความสตริง
การแสดงข้อความ echo - echo “Hello”; // Hello - $text = “ World”;
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
สตริง (String).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
เครื่องนักศึกษา  c:\appserv\www\ชื่อนักศึกษา\ชื่อไฟล์.php
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การใช้ฟังก์ชั่นทาง EXCEL
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และค่าคงที่
บทที่ 6 การควบคุมโปรแกรม.
บทที่ 9 การทำงานกับเลข จำนวน. เลขจำนวนเต็ม $a = 1234;// รูปแบบ เลขฐานสิบ $b = -123;// รูปแบบเลขฐานสิบ $c = 0123;// รูปแบบเลขฐาน แปด $d = 0x1A;// รูปแบบ.
เก็บข้อมูลเป็นกลุ่มด้วยอาร์เรย์
บทที่ 10 การทำงานกับ ข้อความ (string). สตริงในภาษา PHP ASCII (American Standard Code for Information Interchange) จำนวน 8 บิต เก็บได้ 256 ตัว Unicode.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
Computer Programming for Engineers
Computer Programming for Engineers
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
คำสั่งทำซ้ำ for คำสั่ง for เป็นคำสั่งทำซ้ำในลักษณะ Definite loop คือทราบจำนวนรอบที่แน่นอนในการทำงาน ซึ่งจะใช้ตัวแปร 1 ตัวในการนับจำนวนรอบว่าครบตามกำหนดหรือไม่
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
CHAPTER 7 String Functions and Regular Expression
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับสตริง บทที่ 11 ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับสตริง

การลบ Whitespace ออกจากหัวและท้ายสตริง trim(ตัวแปร[, ตัวอักษรที่ต้องการลบ]) ltrim(ตัวแปร[, ตัวอักษรที่ต้องการลบ]) rtrim(ตัวแปร[, ตัวอักษรที่ต้องการลบ]) ต้องเป็นเลขฐานสิบหก ถ้าจะทำเป็นช่วงก็ใช้ .. ระบุช่วงที่ต้องการ

ตัวอย่าง trim trim.php $text = "\t\nสวัสดีครับ... "; //ลบ Whitespace echo "บรรทัด 1: " . trim($text) . "<br>\n"; //ลบช่องว่าง แท็บ และจุด echo "บรรทัด 2: " . trim($text, " \t.") . "<br>\n"; //ลบอักขระควบคุม (อักขระที่มีรหัสแอสกี้ 0 ถึง 31) echo "บรรทัด 3: " . trim($text, "\x00..\x1F") . "<br>\n";

การแปลง case ของตัวอักษรในสตริง strtoupper แปลงอักษรทั้งหมดเป็นตัวใหญ่ strtolower แปลงอักษรทั้งหมดเป็นตัวเล็ก ucfirst แปลงอักษรตัวแรกของสตริง เป็นตัวใหญ่ ucwords แปลงอักษรตัวแรกของแต่ละคำ เป็นตัวใหญ่

ตัวอย่าง การแปลง case ของตัวอักษรในสตริง $str = "twinkle, twinkle LITTLE STAR."; echo $str . "<hr>"; echo "แปลงเป็นตัวใหญ่ทั้งหมด: " . strtoupper($str) . "<br>"; echo "แปลงเป็นตัวเล็กทั้งหมด: " . strtolower($str) . "<br>"; echo "แปลงตัวอักษรแรกของสตริงเป็นตัวใหญ่: " . ucfirst($str) . "<br>"; echo "แปลงตัวอักษรแรกของแต่ละคำในสตริงเป็นตัวใหญ่: " . ucwords($str) . "<br>"; convert_case.php

การทำงานกับสตริงย่อย substr.php substr(ตัวแปร, ตำแหน่งที่จัดตัด,จำนวนที่จะตัด) echo "บรรทัด 1: " . substr("กขคงจ", 1) . "<br>"; echo "บรรทัด 2: " . substr("กขคงจ", 1, 3) . "<br>"; echo "บรรทัด 3: " . substr("กขคงจ", 0, 4) . "<br>"; echo "บรรทัด 4: " . substr("กขคงจ", 0, 8) . "<br>"; echo "บรรทัด 5: " . substr("กขคงจ", -2, 1) . "<br><hr>"; ข้ามไปหลายฟังก์ชั่น เพราะไม่ค่อยได้ใช้งาน

การเปรียบเทียบสตริง strcmp(สตริง1, สตริง2) จะสนใจอักษรตัวเล็กและตัวใหญ่ strcasecmp(สตริง1, สตริง2) จะไม่สนใจอักษรตัวเล็กและตัวใหญ่ ผลที่ได้ ค่าที่น้อยกว่า 0 (ค่าลบ) str1 น้อยกว่า str2 ค่าที่มากกว่า 0 (ค่าบวก) str1 มากกว่า str2 0 str1 เท่ากับ str2

ตัวอย่าง การเปรียบเทียบสตริง compare_string.php $str1 = "promlert"; $str2 = "Provision"; echo "<b>เปรียบเทียบโดยใช้ strcmp: </b>"; if (strcmp($str1, $str2) < 0) echo "\"$str1\" น้อยกว่า \"$str2\"<br>"; elseif (strcmp($str1, $str2) > 0) echo "\"$str1\" มากกว่า \"$str2\"<br>"; else echo "\"$str1\" เท่ากับ \"$str2\"<br>"; echo "<b>เปรียบเทียบโดยใช้ strcasecmp: </b>"; if (strcasecmp($str1, $str2) < 0) elseif (strcasecmp($str1, $str2) > 0) ข้ามไปหลายฟังก์ชั่น เพราะไม่ค่อยได้ใช้งาน

การรวมสตริง implode(ตัวเชื่อม, อาร์เรย์ที่บรรจุสตริงต่างๆไว้) implode.php implode(ตัวเชื่อม, อาร์เรย์ที่บรรจุสตริงต่างๆไว้) นำข้อมูลในอาร์เรย์มาเชื่อมต่อกัน $arr = array("ไข่ดาว", "หมูแฮม", "แยมสัปปะรด"); echo "บรรทัด 1: " . implode("-", $arr) . "<br>"; echo "บรรทัด 2: " . implode("/", $arr) . "<br>"; echo "บรรทัด 3: " . implode(", ", $arr) . "<br>";

การแยกสตริง explode.php explode(ตัวแยก, สตริง) นำข้อมูลในสตริงแยกออก ไปเก็บไว้ในอาร์เรย์ $filepath = "C:/Program Files/Internet Explorer/iexplore.exe"; $arr = explode("/", $filepath); print_array($arr); $arr = explode("/", $filepath, 2); $arr = explode(" ", $filepath); function print_array($a) { … }

การจัดรูปแบบสตริง printf(สตริง) printf(รูปแบบ,สตริง) explode.php ค่า % ต่างๆ %b เลขจำนวนเต็มในรูปแบบเลขฐานสอง %c ตัวอักษรที่มีค่าแอสกี้เท่ากับค่าที่กำหนด %d เลขจำนวนเต็มในรูปแบบเลขฐานสิบ %e เลขในรูปแบบวิทยาศาสตร์ %u เลขจำนวนเต็มในรูปแบบเลขฐานสิบ โดยไม่คิดเครื่องหมาย %f เลขจำนวนทศนิยม %o เลขจำนวนเต็มในรูปแบบเลขฐานแปด %s สตริง %x เลขจำนวนเต็มในรูปแบบเลขฐานสิบหก ใช้ตัวเล็ก 0-9 และ a-z %X เลขจำนวนเต็มในรูปแบบเลขฐานสิบหก ใช้ตัวเล็ก 0-9 และ A-Z

ตัวอย่าง การจัดรูปแบบสตริง $price = 550; $item = “หนังสือ”; printf(“สินค้า %s นี้มีราคา %d บาท”, $item, $price); printf(“สินค้า %s นี้มีราคา %.2f บาท”, $item, $price); printf(“สินค้า %s นี้มีราคา %8.2f บาท”, $item, $price); ข้ามไปหลายฟังก์ชั่น เพราะไม่ค่อยได้ใช้งาน

การจัดรูปแบบสตริง (ต่อ) sprintf(รูปแบบ,สตริง) โดยจะคืนค่าออกมาเป็นสตริงด้วย $price = 550; $item = “หนังสือ”; $text = sprintf(“สินค้า %s นี้มีราคา %d บาท”, $item, $price); ข้ามฟังก์ชั่นที่เกี่ยวกับ HTML