คลินิกผู้สูงอายุ..... ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
บริการปฐมภูมิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
สถานการณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 7 จังหวัดภาคใต้
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นโยบายด้านบริหาร.
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
End of life care ช่วงสุดท้ายของชีวิต
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
สาขาโรคมะเร็ง.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม

และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ผู้สูงอายุ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คลินิกผู้สูงอายุ..... ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย โดย ผศ.ร.อ.หญิง ดร ศิริพันธุ์ สาสัตย์ คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Content Geriatric clinic, Alexandra hospital, Singapore ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย & แนวทางในการจัดการ บทบาทพยาบาล

เยี่ยมชม คลินิกผู้สูงอายุ เยี่ยมชม คลินิกผู้สูงอายุ Alexandra Hospital Singapore

คลินิกผู้สูงอายุ & Friendly environment

ห้องให้คำปรึกษาของพยาบาล

ห้องตรวจ

เครื่องชั่งน้ำหนัก

การตรวจผู้ที่มีปัญหา Incontinence

Wheelchair ขนาดใหญ่พิเศษ

ห้องเจาะเลือด

ศูนย์แสดง เครื่องมือ & อุปกรณ์ สำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์แสดง เครื่องมือ & อุปกรณ์ สำหรับผู้สูงอายุ

อุปกรณ์ช่วยในการดำรงชีวิตประจำวัน

ห้องน้ำสำหรับผู้สูงอายุ

ห้องนอนหรับผู้สูงอายุ

Goal: to help people over the age of 60 lead healthier and more satisfying lives Provide quality of patient care Health and wellness activities Learning programme Community resources information

บุคลากร: Multidisciplinary Team Geriatrician Pharmacists Nurse พยาบาลเฉพาะทางด้านผู้สูงอายุ, Gerontological Nurse Practitioner (GNP) Physiotherapist Occupational therapist Podiatrist Social Worker

Services available Comprehensive multidisciplinary geriatric assessment Health & Wellness promotion programme Support groups Creative activities Educational learning opportunities

บริการในคลินิกผู้สูงอายุในต่างประเทศ Continence clinic Palliative care clinic Rehabilitation service Dementia clinic: Memory clinic, Support group Health promotion, Riske prevention General care advice Diabetes Care Foot Care Mobility Enhancement Neurology-Movement Disorders Rehabilitation Psychiatry Social Work

Memory Clinic/ Day Care Support Group

บริการดูแลเรื่องสุขภาพเท้า บริการฟื้นฟูสภาพ บริการดูแลเรื่องสุขภาพเท้า

บริการอื่นๆ บริการเยี่ยมบ้าน ประสานงานกับ primary care team แพทย์ พยาบาล ประสานงานกับ primary care team ส่งยาถึงบ้านทางไปรษณีย์ ให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ ให้บริการทางเลือก: แพทย์ประจำครอบครัว พยาบาลประจำครอบครัว

ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย & แนวทางในการจัดการ ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย & แนวทางในการจัดการ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การใช้ระบบบริการ 1. เดินทางสะดวก 95.9% 2. ใช้สวัสดิการและสิทธิในการรักษาได้ 92.8% 3. อยู่ใกล้บ้าน 90.0% 4. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษา 90.0% 5. ความเชื่อถือในสถานที่รักษา 74.5% 6. สถานบริการมีระบบส่งต่อ 55.9% 7. รอไม่นาน 45.9% (นงลักษณ์ บรรจิรกุล, 2546)

แผนภูมิแสดงปัญหาโรคเรื้อรังของผู้สูงอายุ ในชุมชนแห่งหนึ่ง จ.สระบุรี

ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันวัณโรค ในผู้สูงอายุ ปี ค.ศ. 2006 มีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เพิ่มขึ้นเป็น 9.2 ล้านคน เสียชีวิต1.7 ล้านคน ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในลำดับที่ 18 ของประเทศที่มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรคสูง WHOประกาศให้วัณโรคเป็นภาวะฉุกเฉินของโลก สถิติในประเทศไทย (สำนักระบาดวิทยา, 2550) กลุ่มผู้สูงอายุเป็นวัณโรคมากเป็นอันดับหนึ่งของทุกกลุ่มอายุ ร้อยละ 21.37 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบผู้สูงอายุเป็นวัณโรคมากอันดับหนึ่ง จังหวัดศรีสะเกษ มีผู้สูงอายุเป็นวัณโรคมากอันดับหนึ่ง คมเนตร สกุลธนะศักดิ์ (2552)

สาเหตุการระบาด จากความล่าช้าในการวินิจฉัยรักษาวัณโรค จึงเป็นแหล่งทำให้เกิดการแพร่กระจายโรคสู่ผู้อื่น (Ailinger, Lasus & Dear, 2003) ประเทศไทย พบว่ามีความล่าช้าโดยรวม 3 เดือน 35.8% พบล่าช้าภายใน 1 เดือน 23.1% (เพชรวรรณ พึ่งรัศมีและคณะ, 2536) ความล่าช้านี้ทำให้ผู้สูงอายุเป็นวัณโรคมีอาการรุนแรงมากขึ้น และสามารถแพร่กระจายเชื้อวัณโรคสู่ผู้อื่นได้ (Ormerod, 2002) สาเหตุของความล่าช้า: ผู้สูงอายุไม่มีการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันวัณโรคโดยเฉพาะการตรวจคัดกรองวัณโรค

นพ. ปราชญ์ บุญยวงศ์วิโรจน์ (2551) กล่าวว่า ยังมีผู้ป่วยวัณโรคอีกจำนวนมากที่สามารถแพร่เชื้อวัณโรคสู่สังคมได้ คือ กลุ่มผู้ป่วยขาดยาและกลุ่มผู้ป่วยที่ยังค้นหาไม่พบ ซึ่งการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคนั้นจะต้องเริ่มจากการตรวจคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงที่ป่วยเป็นวัณโรคได้ง่าย เช่น ผู้สูงอายุ ช่วยให้สามารถเข้าถึงการรักษาโดยเร็ว เป็นกุญแจสำคัญในการควบคุมป้องกันการแพร่กระจายเชื้อวัณโรค

ผลกระทบของวัณโรคในผู้สูงอายุ อัตราตายจากวัณโรคในผู้สูงอายุ 11.1% กลุ่ม Adult 1.3% (Lee, 2005) พบการแพ้ยาวัณโรค ในผู้สูงอายุ40.7% กลุ่ม Adult 18.5% (Lee, 2005) ทำให้ผู้สูงอายุเป็นวัณโรคที่มีความรุนแรงของโรคสูง ต้องรักษาที่นานขึ้น มีปัญหาการกินยาไม่สม่ำเสมอ งบประมาณที่ใช้ในการดำเนินงานวัณโรค ต้องใช้เงินถึง 3.3 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ (WHO, 2008) ประเทศไทยต้นทุนในการรักษาวัณโรคตามปกติเพียง 12,498.30 บาทต่อคน ส่วนวัณโรคที่ดื้อยาซับซ้อนและรุนแรงมีต้นทุนสูงถึง 92,884.40 บาทต่อราย (นฤมล สิงห์ดง,2539)

ผลการศึกษา การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อโรค การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์ การสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันวัณโรคของผู้สูงอายุ การรับรู้อุปสรรค ภาวะซึมเศร้า ความรู้สึกมีตราบาป มีความสัมพันธ์ทางลบกับการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันวัณโรคของผู้สูงอายุ การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อโรค การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค การสนับสนุนทางสังคม และภาวะซึมเศร้า สามารถร่วมกันพยากรณ์การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันวัณโรคของผู้สูงอายุ

วันเพ็ญ สายัณย์ศศิกนก และ ศิริพันธุ์ สาสัตย์ (2550) การศึกษาการกลับมาตรวจรักษาซ้ำของผู้ป่วยสูงอายุ ที่มีภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังที่หน่วยอุบัติเหตุ–ฉุกเฉิน ประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปพบว่ามีโรคเรื้อรังร้อยละ 50 โรคที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ โรคหลอดเลือดและหัวใจ โรคมะเร็ง โรคระบบทางเดินหายใจ โรคต่อมไร้ท่อ และเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญของคนไทย สาเหตุการตายของประชากรสูงอายุ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 – 2546 พบว่ามาจากโรคเรื้อรัง เจ็บป่วยเรื้อรังจะมีความทุกข์ในระยะยาว หากไม่สามารถควบคุมการเจ็บป่วยได้ เป็นสาเหตุให้ต้องนอนโรงพยาบาลและมีโอกาสกลับมาโรงพยาบาลซ้ำได้ ผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 65 ปี มารับบริการที่หน่วยอุบัติเหตุ - ฉุกเฉินเพิ่มขึ้น และมีสัดส่วนมากยิ่งขึ้นในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 85 ปีขึ้นไป วันเพ็ญ สายัณย์ศศิกนก และ ศิริพันธุ์ สาสัตย์ (2550)

ผลการศึกษา ผู้สูงอายุกลับมาตรวจรักษาซ้ำมากที่สุดภายใน 2 วัน (48 ชั่วโมง) มีอายุอยู่ในช่วง 70–79 ปี เป็นผู้สูงอายุเพศหญิง มีรายได้อยู่ในระดับที่เพียงพอ จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีโรคประจำตัว 3 โรค 30.59% พบว่า ผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดมีจำนวนมากที่สุด 72.35% ระดับความรุนแรงของความเจ็บป่วยเมื่อกลับมาตรวจ: ไม่ฉุกเฉิน (non – urgent) 37.06% ฉุกเฉินมาก (emergent) และฉุกเฉิน (urgent) คิดเป็น 32.35%, 30.59% ผู้สูงอายุที่ให้ความร่วมมือในการรับประทานยาในระดับต่ำ มีจำนวนวันเฉลี่ยของการกลับมาตรวจรักษาซ้ำที่ ER น้อยกว่าระดับอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อมีหลายโรคจึงต้องใช้ยาหลายชนิด การไม่ยอมรับประทานยา ทำให้ผู้ป่วยมีความเจ็บป่วยเพิ่มขึ้น เป็นเหตุผลให้มีจำนวนของการกลับมาตรวจรักษาซ้ำที่ ER เพิ่มขึ้น

ลักษณะการมาตรวจซ้ำ (n=170) เฉลี่ยมีการกลับมาตรวจรักษาซ้ำภายใน 1 เดือนมากที่สุด 75.88% (พบภายในวันที่ 1 - 7 มากที่สุด 34.71% (ภายใน 2 วันหรือ 48 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 8.82)) กลับมาตรวจรักษาซ้ำในเวลาราชการเพิ่มขึ้น 54.12 % (ครั้งก่อน 8.24%) นอกเวลาราชการเพิ่มขึ้น 45.88% (ครั้งก่อน 25.88%) หลังตรวจแพทย์ให้กลับบ้านลดลง 45.53% (ครั้งก่อน 82.94%) รับไว้รักษาในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้น 56.47% (ครั้งก่อน 17.05%) เหตุผลที่มารับบริการ: ส่วนใหญ่มีอาการเจ็บป่วยมากขึ้นและมารับบริการทันโดย 93.53% มีความรุนแรงอยู่ในระดับฉุกเฉิน (urgent) 32.08%

การควบคุมน้ำหนักเพื่อลดความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมที่มีน้ำหนักเกิน โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยและความพิการในกลุ่มผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมมากกว่า 6,000,000 คน (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2549) โรคข้อเข่าเสื่อมมีจำนวนสูงขึ้นมากกว่า 10,000 รายต่อปี ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป พบข้อเข่าเสื่อมถึง 50% อายุ 70 ปี พบ 70% ปี พ.ศ. 2538, 2539 และ 2543 พบว่า มีผู้สูงอายุภาวะน้ำหนักเกิน 2.1%, 22.9% และ 23.9% (กรมอนามัย, 2549) ภาวะน้ำหนักเกินเป็นปัญหาสุขภาพที่พบมากในกลุ่มผู้สูงอายุ ประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปโดยเฉพาะเพศหญิงมีภาวะน้ำหนักเกินเพิ่มจาก 11% เป็น 16.2% ธนาภา ฤทธิวงษ์ (2552)

ผลกระทบ การมีน้ำหนักตัวเกินในผู้สูงอายุทำให้ข้อเข่าต้องรับน้ำหนักมาก ส่งผลให้เกิดแรงกดต่อกระดูกอ่อนผิวข้อเพิ่มขึ้น (สุรศักดิ์ นิลกานุวงศ์ และ สุรวุฒิ ปรีชานนท์, 2548) ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมที่มีน้ำหนักเกินนั้นมีช่องว่างในข้อต่อบริเวณด้านในและด้านข้างของเข่าที่แคบกว่าคนที่มีน้ำหนักตัวปกติ (Cimen et al., 2004) ความอ้วนมีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของการเสื่อมกระดูกอ่อนผิวข้อและอุบัติการณ์การเกิดโรคข้อเสื่อม (Ding et al., 2005) หากการดำเนินของโรคเพิ่มขึ้นจะนำไปสู่การเปลี่ยนข้อเข่าเทียม ค่า BMI เพิ่มขึ้นมีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนข้อเข่าเทียม (Wendelboe et al., 2003) เพศชาย BMI 37.50-39.99 กิโลกรัม/เมตร2 จะผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมเป็น 16.40 เท่าเมื่อเทียบกับผู้ที่มี BMI 20-22.49 กิโลกรัม/เมตร2 เพศหญิง BMI 40 กิโลกรัม/เมตร2 หรือมากกว่าจะผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมเป็น 19.05 เท่าเมื่อเทียบกับผู้ที่มี BMI 20-22.49 กิโลกรัม/เมตร2

ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อระดับฮีโมโกลบินที่มีน้ำตาลเกาะและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน เป้าหมายที่สำคัญที่สุดของการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน คือการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติหรือใกล้เคียงระดับปกติ เพื่อช่วยป้องกันหรือชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นกับระบบของหลอดเลือด แต่พบว่ามีผู้ป่วยไม่ถึง 3% ที่สามารถควบคุมระดับ การจัดการตนเอง (self-management) เป็นแนวคิดที่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยในทุก ๆ กระบวนการ โดยมีพยาบาลเป็นผู้คอยให้การสนับสนุน สอดคล้องกับความต้องการของผู้ป่วยแต่ละคน ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในการดำเนินชีวิตและปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

โปรแกรมการจัดการตนเอง ระดับฮีโมโกลบินที่มีน้ำตาลเกาะ 1. การกำหนดเป้าหมายร่วมกัน 2. พัฒนาความสามารถของตนเองและฝึกทักษะการเผชิญปัญหา) 3. การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม 4. ติดตามตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับสรีรวิทยา 5. ประเมินคุณภาพชีวิต ระดับฮีโมโกลบินที่มีน้ำตาลเกาะ คุณภาพชีวิต อุทัยพรรณ รุดคง (2548)

ผลการวิจัย 1. ระดับฮีโมโกลบินที่มีน้ำตาลเกาะของผู้สูงอายุโรคเบาหวานหลังได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคเบาหวานหลังได้รับโปรแกรมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คุณภาพชีวิตอยู่ในระดับดีมาก 3. ระดับฮีโมโกลบินที่มีน้ำตาลเกาะของผู้สูงอายุโรคเบาหวานระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมและกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติไม่แตกต่างกัน 4. คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คุณภาพชีวิตของกลุ่มทดลองอยู่ในระดับดีมากส่วนกลุ่มควบคุมอยู่ในระดับดี

ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำในผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน การรักษาเบาหวานในปัจจุบันจึงมุ่งเน้นที่การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงระดับปกติมากขึ้น เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในระยะยาว กลุ่มที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงระดับปกติมีความเสี่ยงเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำอย่างรุนแรง (severe hypoglycemia) เพิ่มขึ้น 3 เท่า เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับการควบคุมแบบดั้งเดิม (Epidemiology of severe hypoglycemia in the diabetes control and complications trial, 1991) ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำจึงเป็นความเสี่ยงจากการรักษาเบาหวานที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ (Chau & Edelman, 2001) (วไลลักษณ์ เพ่งฤทธิ์, 2552)

ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ คือ ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำผิดปกติ>50 มิลลิกรัมเปอร์เดซิลิตร (หรือ > 2.8 มิลลิโมลเปอร์เดซิลิตร) “ ประเทศสหรัฐอเมริกาของ พบอุบัติการณ์การเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ 28.3 ครั้งต่อหนึ่งพันคนต่อปี (Bertoni-Krop et al, 2002) ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำที่มีความสัมพันธ์กับการรักษาเบาหวานในผู้สูงอายุโรคเบาหวาน (Shorr et al, 1997) เกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ 7 ครั้งต่อ 100 คนต่อปี ภายใน 30 วันหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล ผู้ป่วยที่มีอายุ 80 ปีขึ้นไปมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำอย่างรุนแรง 8.7 ต่อ 100 คนต่อปีภายใน 30 วันหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล

ผลกระทบ หกล้มจนนำไปสู่ความเสื่อมของการทำหน้าที่ของร่างกาย (Thomas & David, 2008) เช่นกระดูกหัก หรือ ชัก หมดสติ มีอัตราตาย 10% และมีการทำงานของสมองบกพร่องอย่างถาวร 3% ประเทศเยอรมันพบว่า ผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำอย่างรุนแรง มีค่าใช้จ่ายประมาณ 44 $ (Chelliah & Burge, 2004) ปัญหาความเครียดของญาติผู้ดูแล คุณภาพงานบริการทางการพยาบาล

ข้อมูลสถิติของผู้ใช้บริการ ER โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช (2551) จากพบว่า ผู้ป่วยสูงอายุมาใช้บริการในกลุ่มโรค non-trauma ระหว่าง1 เมย.-31 กย 51 จำนวน 708 ราย (19.45% ของกลุ่มผู้ป่วยที่มาใช้บริการทั้งหมด) มีผู้ป่วยสูงอายุโรคเบาหวานมาใช้บริการด้วยภาวะแทรกซ้อนโดยได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ จำนวน 97 ราย (13.7% ของผู้ป่วยสูงอายุทุกกลุ่มโรค non-trauma)

ใช้แนวคิดตัวแบบจากทฤษฎีปัญญาทางสังคมของ Bandura (1986) ผลของการฝึกทักษะการดูแลโดยใช้ตัวแบบวีดิทัศน์สำหรับผู้ดูแล ต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง จากกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของผู้ดูแลมีค่อนข้างมาก ก่อให้เกิดปัญหาแก่ผู้ดูแลทั้งทางด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจและอารมณ์ และเศรษฐกิจสังคมตามมา ผลกระทบด้านจิตใจ มีอาการซึมเศร้า หดหู่ มีความวิตกกังวล อันเกิดจากความคลุมเครือในบทบาทหรืออาจไม่สามารถจัดการต่อเหตุการณ์เฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งได้ผู้ดูแลอาจรู้สึกถูกคุกคาม เกิดอารมณ์เบื่อหน่าย ท้อแท้ ไม่พึงพอใจ การขาดความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วย ทำให้ผู้ดูแลเกิดความไม่มั่นใจที่จะให้การดูแล ใช้แนวคิดตัวแบบจากทฤษฎีปัญญาทางสังคมของ Bandura (1986)

ความวิตกกังวลของผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง โปรแกรมการฝึกทักษะการดูแลโดยใช้ตัวแบบวีดิทัศน์สำหรับผู้ดูแล 1) กระบวนการตั้งใจ เตรียมกลุ่มตัวอย่างให้มีความตั้งใจที่จะเรียนรู้ทักษะการดูแล เปิดโอกาสให้ผู้ดูแลพูดคุยเกี่ยวกับปัญหาในการดูแลผู้ป่วย 2) กระบวนการเก็บจำ กลุ่มตัวอย่างเรียนรู้ทักษะในการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองผ่านตัวแบบวีดิทัศน์ โดยการชมวีดิทัศน์ 3) กระบวนการกระทำ กลุ่มตัวอย่างฝึกทักษะการดูแลผู้ป่วย ด้านการดูแลกิจวัตรประจำวัน การป้องกันภาวะแทรกซ้อน การช่วยฟื้นฟูสภาพ การดูแลด้านจิตใจ 4) กระบวนการจูงใจ พยาบาลชมเชย ให้กำลังใจ เมื่อกลุ่มตัวอย่างสามารถปฏิบัติได้พร้อมทั้งให้คู่มือการดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง ก่อนกลับบ้าน ติดตามความสามารถในการดูแลของผู้ดูแล ประเมินความวิตกกังวลของผู้ดูแล ความวิตกกังวลของผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง นางนิตยา อินทรักษ์ และศิริพันธุ์ สาสัตย์ (2552)

Referral Regional Geriatric Centre บทบาทของพยาบาล Referral Regional Geriatric Centre

ระบบบริการพยาบาล 1. เป็นระบบย่อยในระบบบริการด้านสุขภาพ 2. ครอบคลุมภาระกิจในระบบบริการสุขภาพ 2.1. การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาให้ ประชาชนมีความสามารถในการดูแล ตนเอง 2.2. การบริการระดับปฐมภูมิ ใกล้บ้าน ใกล้ใจ ประชาชน เพื่อส่งเสริม ป้องกัน รักษาพยาบาลขั้นต้น และดูแล/ ฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้านและใน ชุมชน (สภาพยาบาล, 2544)

วิชาชีพพยาบาลกับระบบบริการสุขภาพ ระบบสุขภาพ ระบบสาธารณสุข ระบบบริการสุขภาพ วิชาชีพ พยาบาล วิชาชีพพยาบาลกับระบบบริการสุขภาพ

ระดับของวุฒิบัตรสาขาผู้สูงอายุ ในอเมริกา 1. Gerontological Nurse เป็นผู้ที่ตระหนักถึงความต้องการทางด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ มีการวางแผน การปฏิบัติการพยาบาลและประเมินผล สามารถระบุจุดแข็งของผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มระดับการช่วยเหลือตนเองสูงสุดในการดำรงชีวิตประจำวัน ข้อกำหนดเพิ่มเติม: มีการปฏิบัติงาน 4,000 ชม. (2,000 ชม ภายใน 2 ปีที่ผ่านมา) มีการศึกษาต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้สูงอายุภายใน 2 ปีที่ผ่านมาอย่างน้อย 30 หน่วย

2. Gerontological Nurse Practitioner (GNP) ระดับของวุฒิบัตรสาขาผู้สูงอายุในอเมริกา 2. Gerontological Nurse Practitioner (GNP) เป็นผู้ที่มีทักษะขั้นสูงในการประเมินทางด้านร่างกายและจิตใจ ในผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี &เจ็บป่วย ครอบครัวในสภาวการณ์ต่างๆ โดยการซักประวัติความเจ็บป่วยและการตรวจร่างกาย ให้บริการได้ในสถานบริการทางคลินิกที่หลากหลาย ข้อกำหนดเพิ่มเติม: จบการปริญญาโทในสาขา GNP หรือสาขาพยาบาลศาสตร์ หรือได้รับประกาศนียบัตรทางเวชปฏิบัติในสาขาผู้สูงอายุ ผู้ใหญ่ ครอบครัวที่มีระยะเวลาเรียนอย่างน้อย 9 เดือน หรือเทียบเท่าปริญญาโท

3. Clinical Specialist in Gerontology ระดับของวุฒิบัตรสาขาผู้สูงอายุในอเมริกา 3. Clinical Specialist in Gerontology มีความเชี่ยวชาญในด้านการให้บริการ ชี้แนะหรือส่งเสริมสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุ ครอบครัวและผู้ที่มีความสำคัญอื่นๆ ในแต่ละสถานบริการ เข้าใจอย่างลึกซึ้งในความเปลี่ยนแปลงของการสูงอายุและการจัดกระทำทางการพยาบาลที่เหมาะสมในการส่งเสริมสุขภาพ & การจัดการกับภาวะสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเชี่ยวชาญการให้การพยาบาลทั้งโดยอิสระ &ร่วมกับวิชาชีพอื่น โดยใช้ทฤษฎี และการวิจัย เชี่ยวชาญในการดูแลผู้สูงอายุขั้นสูงและมีส่วนร่วมในด้านการปฏิบัติการพยาบาล การศึกษา การให้คำปรึกษา การวิจัย &การบริหารจัดการ

บทบาทของพยาบาล ใน Referral Geriatric Centre การประเมิน ส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสภาพ การติดต่อและประสานงาน การส่งกลับ

การประเมิน Health Screening: Functional Evaluation V/S, Fall Ass., BMI. Pain Ass., Functional Evaluation ประเมิน ADLs, IADLs Psychological Evaluation Mental status assessment (MMSE) ประวัติ คค. ความสัมพันธ์ภายใน คค. ปัญหาทางจิต การเผชิญความเครียด (GDS, stress and coping)

การประเมิน Social Support Evaluation Environmental Assessment ประเมินการได้รับการสนับสนุนทางสังคม (emotion, information, instrument and appraisal support) จาก คค.เพื่อน เพื่อนบ้านและแหล่งประโยชน์ต่างๆ) Environmental Assessment มี สวล.อะไรบ้างที่ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย: ห้องน้ำ ความสูงของเตียง แสงสว่างตามทางเดิน ห้องครัว โทรศัพท์ การปรับปรุงบ้านเรือนเพื่อการเข้าถึงและปลอดภัย

การส่งเสริมสุขภาพ Health & Wellness Activities: to maintain optimal health and wellness Health & Wellness Promotion Programme Health & Educational Resources Centre Patient Education Disease control and Prevention Proactive care Older people who are undergoing for surgery

ให้ความรู้เรื่องโรคทาง Web-site Acute bronchitis Acute Low Back pain Alcoholism Alzheimer’s Disease Anxiety Disorders Arthritis Barium Enema Bone Mineral Density Testing Breast Self Exam Calcium & Vitamin D Colonoscopy Complication of Diabetes Cook Voiding Diary Depression Deep Vein Thrombosis Flu Shots Gout Heartburn Health Failure

ให้ความรู้เรื่องโรคทาง Web-site HbA1C Home BP monitoring Hypertension Catheter Care Living Will Osteoarthritis Parkinson’s Disease Pelvic Floor Exercise Peptic Ulcer Rheumatoid Arthritis Sinusitis Skin Cancer Sleep Apnea Smoking Quitting Stroke Testicular Cancer Total Cholesterol Test Urinary Incontinence UTI

ฟื้นฟูสภาพ Incontinence clinic Memory clinic บริการอื่นๆ ให้คำปรึกษารายบุคคล & รายกลุ่ม, Hot-line อบรมผู้ดูแล Support group

การติดต่อและประสานงาน ประสานงานภายในทีม แผนการรักษา ประสานงานภายนอกทีม ward แพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ญาติผู้ป่วย

การส่งกลับ วางแผนการส่งกลับ ติดต่อประสานงานหน่วยรับกลับ ประชุมวางแผนกับสหสาขาที่เกี่ยวข้อง และญาติ ติดต่อประสานงานหน่วยรับกลับ Primary care team จดหมายส่งต่อ

พยาบาลผู้เชี่ยวชาญทางคลินิก ในระบบบริการปฐมภูมิ (Clinical Nurse Specialists in PHC) ตัวอย่างการปฏิบัติงาน ให้คำแนะนำเรื่องภาวะการกลั้นปัสสาวะ อุจจาระไม่ได้ (Continence advisors) พยาบาลผู้เชี่ยวชาญด้านโรคพาร์กินสัน (Parkinson’s Disease Nurse Specialist)

ตัวอย่างการปฏิบัติงานของ Nurse Practitioner ในระบบบริการปฐมภูมิ: จัดการดูแลผู้ที่มีอาการป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน หอบหืด ความดันโลหิตสูง สมองเสื่อม เป็นด่านแรกที่ให้การวินิจฉัย บริหารจัดการ ส่งต่อ Triage of patients ชุมชนด้อยโอกาส บุคคลเร่ร่อน

บทบาทของ GNP OPD, คลินิกผู้สูงอายุ Ward ผู้สูงอายุ Nursing home บ้านพักคนชรา/สถานสงเคราะห์ ชุมชนผู้สูงอายุหลังเกษียณ

Nurse-led Clinic in UK มาจาก nurse specialist/practitioner, consultant nurse post ใน primary & secondary care การวิวัฒนาการในระบบการดูแลสุขภาพในด้านการบริการ ลดเวลารอการรักษา บริการโดยให้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง Impact of technology e.g. NHS direct, Internet โอกาสใหม่ที่ให้บริการ Nurse-led PHC services การได้รับการยอมรับของพยาบาลที่มีมากขึ้น มุ่งเน้นที่สมรรถนะในการปฏิบัติ ภาวะผู้นำ และ Evidence based practice

A nurse-/pharmacy –led Capacitabine Clinic for Colorectal Cancer (ตัวอย่าง) เป้าหมาย: ควบคุม & สร้างบรรยากาศช่วยให้ pt.ได้รับยาอย่างปลอดภัย & ให้แนะนำเรื่องยา การทำงาน: ให้ความรู้และคำปรึกษาสำหรับผู้ป่วยรายใหม่และการจัดการเรื่องผลข้างเคียงจากการใช้ยา ข้อมูลที่ให้: ขนาดยา วิธีใช้ ปฏิกิริยาระหว่างอาหารและยา ฤทธิ์ข้างเคียงที่คาดว่าจะเกิดขึ้น วิธีการเก็บยา การรายงานเมื่อมีอาการผิดปกติ การกำกับดูแล: บัตรบันทึกประจำวัน บัตรให้ความรู้ เบอร์โทรศัพท์ 24 ชม

Nurse-led clinic ประโยชน์ที่ได้รับ: ลดอาการข้างเคียงของยา ลดขนาดการให้ยา สามารถใช้ยารักษาอยู่ที่บ้านได้อย่างปลอดภัย แพทย์มีเวลาดูผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนมากขึ้น เป็นการ share ประสบการณ์การทำงานระหว่างพยาบาลและเภสัชกร ให้กำลังใจและการสนับสนุนผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี ผู้ป่วยมีความพึงพอใจ

Thank you for your attention แล้วท่านจะมีแนวคิดในการปรับปรุงงาน/จัดบริการในคลินิกผู้สูงอายุอย่างไรบ้าง? Thank you for your attention