1
2 ประเด็นเนื้อหา ความสำคัญ สภาพปัญหา กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แนวทางแก้ไขปัญหา
3 ความสำคัญ มาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญฯ ปี 2550 บุคคลย่อมมีสิทธิ์ได้รับหลักประกัน ความปลอดภัยและสวัสดิภาพในการ ทำงาน รวมทั้งหลักประกันในการดำรง ชีพฯ นโยบายรัฐบาล ข้อ ดำเนินการ ให้แรงงานทั้งในและนอกระบบได้รับ การคุ้มครองฯ โดยเฉพาะในด้าน คปภ. มติ ครม. เมื่อ 11 ธ. ค ( วาระ ชาติ ) “ แรงงานปลอดภัย และสุขภาพอนามัย ดี ”
4 สภาพปัญหา การประสบอันตรายจากการทำงานยังสูง เกิดมากในกิจการก่อสร้างและการผลิต เกิดมากใน สปก. ขนาดกลางและขนาด เล็ก การบังคับใช้กฎหมายไม่เข้มงวดและไม่ ทั่วถึง การรณรงค์ส่งเสริมทำได้จำกัด นายจ้าง ลูกจ้าง ไม่สนใจ การเจ็บป่วยหรือเกิดโรคจากการทำงาน มากขึ้น
5 การประสบอันตรายจากการทำงาน ปี ปี จำนวน ลูกจ้าง ในข่าย คุ้มครอ ง กองทุน เงิน ทดแท น การประสบอันตรายนับ ความร้ายแรง ทุกกรณี การประสบอันตราย นับความร้ายแรง กรณีหยุดงานเกิน 3 วันขึ้นไป จำนวน ลูกจ้างที่ ประสบ อันตราย ( ราย ) อัตราการ ประสบ อันตรายต่อ ลูกจ้าง 1,000 ราย จำนวน ลูกจ้างที่ ประสบ อันตราย ( ราย ) อัตราการ ประสบ อันตราย ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย ,386, , , ,720, , , ,992, , , ,178, , , ,135, , ,
6 สถิติการประสบอันตรายจาก การทำงาน ปี
7 ตัวชี้วัดตามคำรับรองการ ปฏิบัติราชการ ระดับกระทรวง อัตราการประสบอันตรายจาก การทำงาน ต่อพันราย ระดับกรม อัตราตายจากการทำงานต่อ แสนคน
8 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กฎกระทรวงฯ ตาม พ. ร. บ. คุ้มครองแรงงาน พ. ศ (8 ฉบับ ) 1. รังสี 2. อับอากาศ 3. การตรวจสุขภาพ 4. ประดาน้ำ 5. ความร้อน แสงสว่าง เสียง 6. การบริหาร จัดการความปลอดภัยฯ 7. ก่อสร้าง 8. เครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน้ำ ประกาศกระทรวงฯ ตาม ปว ไฟฟ้า 2. ภาวะแวดล้อม ( สารเคมี ) 3. สารเคมีอันตราย 4. อัคคีภัย 5. ตกจากที่สูง
9 บทลงโทษ จำคุกไม่เกินหนึ่งปี ปรับไม่เกินสองแสนบาท ทั้งจำทั้งปรับ
10 แนวทางแก้ไขปัญหา พัฒนากฎหมายให้ทันสมัย บ บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด ต ตรวจ สปก. กลุ่มเสี่ยง ต ตรวจ สปก. ที่มีการประสบอันตราย สูง ร รณรงค์ส่งเสริมให้มากขึ้น อ อาศัยเครือข่าย
11