เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

ภาระงาน กระบวนการ แหล่งข้อมูล ประเมินผล สรุป
โครงงานคอมพิวเตอร์.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
รองศาสตราจารย์ ดร. วิบูลย์ รัตนาปนนท์
สารประกอบอินทรีย์ ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ดิน(Soil).
ดิน ประโยชน์ของดิน สมบัติของดิน ลักษณะของดิน
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วงจรสี.
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
~ ชาเขียว ~.
ครูไพรินทร์ เจริญศิริ hotmail.com
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
ควอรตซ์ ไมก้า เฟลด์สปาร์ แอมฟิโบล ไพร็อกซีน แคลไซต์ แร่ประกอบหิน.
สารกัดกร่อน.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
1. การจัดแยกประเภทของเสียในห้องปฏิบัติการ 2
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
ภาวะไตวาย.
( Stanum ใช้สัญลักษณ์ Sn )
สารประกอบ.
Phosphorus and Phosphate
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
สารเคมีในบ้านเป็นกรดหรือเบส
สังกะสี แคดเมียม.
ACID-BASE เราไปกันเลย Jutimat Rattanapan.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
การจำแนกประเภทของสาร
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
การออกแบบการเรียนรู้
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
อาหารปลอดภัยด้านประมง
กำมะถัน (Sulfur).
วิทยาศาสตร์ Next.
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
สมาชิกกลุ่ม 6 ชมเชยที่ 6 1.ด.ญ.ชลธิชา สอดศรี เลขที่ 29
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน ชุดการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน โดย นางณัฐญาณี ไชยปัญญา โรงเรียนบ้านหนองบัวดง อำเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ

จุดประสงค์ เนื้อหา แบบทดสอบ จบบทเรียน

จุดประสงค์ 1.จำแนกประเภทของสารประกอบเป็นกรด เบสได้ 1.จำแนกประเภทของสารประกอบเป็นกรด เบสได้ 2. อธิบายสมบัติของสารละลายกรด และสารละลายเบสได้ 3. อธิบายค่า pH ของสารละลายกรดและเบส และใช้ค่า pH ระบุความเป็นกรดเบสของสารละลายได้ 4. สามารถใช้สมบัติการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ระบุความเป็นกรดเบสของสาร และค่า pH ของสารละลายได้ 6. บอกประโยชน์และจำแนกสารละลายกรดเบสในชีวิตประจำวันได้

เนื้อหาวิชา กรด มีสมบัติทั่วไปดังนี้      1. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงิน เป็นสีแดง      2. มีรสเปรียว      3. เมื่อถูกกับสังกะสีและหินปูนจะเกิดฟองก๊าซ      4. กัดกร่อนภาชนะที่ทำจากพลาสติกได้ กัดกร่อนเนื้อเยื่อของพืช และสัตว์

กรด จำแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้       กรดอินทรีย์ เป็นกรดที่ได้จากพืช ใช้ปรุงแต่งอาหาร เช่น กรดแอซิติก (กรดน้ำส้ม) กรดมดหรือกรดฟอร์มิก น้ำมะนาว น้ำมะกรูด นำมาทดสอบด้วยสารละลายเจนเชียน ไวโอเลต จะไม่เปลี่ยนสีของเจนเชียนไวโอเลต       กรดอนินทรีย์ หรือกรดแร่ เป็นกรดที่ได้จากแร่ธาตุ กรดชนิดนี้ไม่นิยมรับประทาน เพราะฤทธิ์กัดกร่อนรุนแรง เป็นอันตรายต่อเนื้อเยื่อ ได้แก่ กรดซัลฟิวริก (กรดกำมะถัน) กรดไฮโดรคลอริก (กรดเกลือ) กรดคาร์บอนิก กรดเหล่านี้จะเปลี่ยนสีของเจนเชียนไวโอเลต จากสีม่วง เป็นสีเขียวหรือสีน้ำเงิน

เบส มีสมบัติทั่วไปดังนี้ 1. มีรสฝาด 2 เบส มีสมบัติทั่วไปดังนี้      1. มีรสฝาด      2. เมื่อสัมผัสผิวกายจะรู้สึกลื่น และกัดผิวหนัง      3. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน      4. ทำปฏิกิริยากับน้ำมันหมูหรือน้ำมันพืชจะได้สบู่      5. ทำปฏิกิริยากับแอมโมเนียมไนเตรดจะได้ก๊าซแอมโมเนีย ซึ่งมีกลิ่นฉุน      6. ทำปฏิกิริยากับอะลูมิเนียม จะเกิดก๊าซไฮโดรเจน และอะลูมิเนียมจะผุกร่อน

ค่า pH กับความเป็นกรด - เบส      ค่า pH เป็นคาที่ใช้บอกความเป็นกรด - เบส ของสาร มีค่าอยู่ระหว่าง 0 - 14 โดยกำหนดว่า      สารที่มีค่า pH น้อยกว่า มีสมบัติเป็นกรด      สารที่มีค่า pH เท่ากับ 7 มีสมบัติเป็นกลาง      สารที่มีค่า pH มากกว่า 7 มีสมบัติเป็นเบส

แบบทดสอบ 1. ข้อใดเป็นสมบัติของกรด มีรสฝาด ก มีรสเปรี้ยว ข ลื่นเมื่อถูกผิวหนัง ค เปลี่ยนกระดาษลิตมัสสีแดงเป็นน้ำเงิน ง

แบบทดสอบ 2. ข้อใดเป็นสมบัติของเบส มีรสฝาด ก ข มีรสเปรี้ยว ทำปฏิกิริยากับหินปูน ค เปลี่ยนกระดาษลิตมัสน้ำเงินเป็นสีแดง ง

แบบทดสอบ 3. สารในข้อใดมีสมบัติเป็นเบส น้ำฝน ก ข น้ำสบู่ น้ำมะนาว ค น้ำอัดลม ง กลับเมนูหลัก

ข้อ 1 2 3 ดีมากค่ะ

ข้อ 1 2 ทบทวนใหม่นะจ๊ะ

แบบทดสอบ