การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
ลักษณะโครงสร้างของผังงาน
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
โครงสร้างควบคุมและคำสั่งแบบเงื่อนไข
ตัวอย่าง Flowchart.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
คำสั่ง while ควบคุมการทำงานวนซ้ำ กรณีระบบงานมีลักษณะตรวจสอบเงื่อนไขก่อน แล้วเข้าสู่ส่วนลำดับงานคำสั่งที่กำหนดไว้ การเขียนคำสั่ง while ต้องกำหนดนิพจน์แบบตรรกะเป็นเงื่อนไขมีค่าในหน่วยความจำเป็น.
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
Week 15 C Programming.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
การจำลองความคิด
Decision Tree Analysis
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
คำสั่งควบคุมการทำงาน
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Flowchart Drawing By DIA
ครูรัตติยา บุญเกิด.
ครูรัตติยา บุญเกิด.
คำสั่ง while และ do…while
การเขียนผังงาน.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
Flow Chart INT1103 Computer Programming
กิจกรรมที่ 7 การวางแผนการแก้ปัญหา (1)
การเขียนผังงานแบบทำซ้ำ
การเขียนผังงานแบบทางเลือก
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
2.3.1 รหัสเทียม (Pseudo code)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
อ สิทธิชัย เอี่ยววุฑฒะจินดา
ผังงาน (FLOW CHART) ส่วนประกอบของผังงาน (Flow Chart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
บทที่ 6 คำสั่งเงื่อนไข.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
Flowchart การเขียนผังงาน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้ 2.บอกประโยชน์ของผังงานได้ 3.อธิบายความหมายของสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานได้ 4.บอกวิธีการเขียนผังงานที่ถูกต้องได้

ความหมายและประโยชน์ของผังงาน ผังงาน (FlowChart) คือ การอธิบายลำดับขั้นตอนโดยใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ มาประกอบเข้าด้วยกัน และมีทิศทางแสดงลำดับขั้นตอนการทำงานตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย ว่ามีลำดับขั้นตอนการทำงานอย่างไรบ้าง หลังจากการเขียนผังงานแล้ว จะนำไปพัฒฯเป็นคำสั่งเทียม (Pseydo Code) และโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ต่อไป

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน (บางส่วนเท่าที่จำเป็นต้องใช้จริง) สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน (บางส่วนเท่าที่จำเป็นต้องใช้จริง) จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด จุดต่อในหน้าเดียวกัน การกำหนดค่า ,การคำนวณ, การประมวลผล จุดต่อระหว่างหน้า รับข้อมูลทางคีย์บอร์ด การตัดสินใจ การนำเข้าข้อมูล หรือนำข้อมูลออกโดย ไม่ระบุอุปกรณ์ แสดงผลทางเครื่อง พิมพ์

สัญลักษณ์ผังงานที่จำเป็น แสดงทิศทางการทำงานของผังงาน การติดต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นดิสก์ การแสดงผลทางจอภาพ

ตัวอย่างการเขียนผังงาน ผังงานการคำนวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม โดยรับค่าความสูงและความยาวฐานเข้ามา จากนั้นคำนวณหาค่าของพื้นที่ จากภาพ สามารถนำไปเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ โดยไม่ต้องนำไปเขียน Pseudo Code อีก

ตัวอย่าง ผังงานการคำนวณจำนวนเงินฝากธนาคาร เมื่อเงินต้นที่นำฝากเท่ากับ 20,000 บาท อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก 3.5 % ต่อปี ถ้าฝากเป็นจำนวน 10 ปี จะมีเงินอยู่ทั้งหมดเท่าไร

เมื่อจบถึงสไลด์นี้ให้ทำกิจกรรมที่ 1

โครงสร้างผังงาน ผังงานการทำงานแบบตามลำดับ ผังงานการทำงานแบบเลือกทำ (มีการตัดสินใจ) ผังงานการทำงานแบบทำซ้ำ ทำซ้ำในขณะที่ ทำซ้ำลักษณะทำจนกระทั่ง

ผังงานการทำงานแบบตามลำดับ เป็นลักษณะของผังงานที่ค่อนข้างง่าย การทำงานจะทำทีละขั้นตอน ตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุกท้ายตามทิศทางของลูกศร ดังตัวอย่าง

เมื่อพิจารณาเข้าใจดีแล้วทำกิจกรรมปฏิบัติ ชิ้นที่ 2 (ต่อครับ) พิจารณาตัวอย่าง ผังงานตามลำดับ เมื่อพิจารณาเข้าใจดีแล้วทำกิจกรรมปฏิบัติ ชิ้นที่ 2 (ต่อครับ)

ผังงานการเลือกทำ (Selection) การเลือกทำต้องมีเงื่อนไขมาให้ตัดสินใจ ในการเลือกทำ เช่น ถ้า ฝนตก ฉันจะไม่มาเรียน เงื่อนไข คือ ฝนตก ซึ่งจะเป็นตัวให้ต้องมีการตัดสินใจ ในผังงานแบบนี้ต้องใช้สัญลักษณ์การตัดสินใจ เพื่อแสดงถึงเงื่อนไข เมื่อตัดสินใจแล้วจะต้องปฏิบัติไปตามเงื่อนไข ที่เป็นจริง หรือเท็จ ดังรูป

เมื่อพิจารณาตามเงื่อนไขแล้ว ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะทำด้านขวามือ ถ้าเงื่อนไขไม่เป็นจริงจะทำด้านซ้ายมือ

โครงสร้างการเลือกทำ (พิจารณาในการเขียนโปรแกรม) รูปแบบ มี IF กับ CASE รูปแบบของ IF IF…THEN IF…THEN…..ELSE IF…THEN…..ELSE…IF

IF/THEN จากแผนผังจะตรวจสอบเงื่อนไขถ้าเป็นจริงจะมีการทำงาน ถ้าไม่จริงจะไม่มีการทำอะไรเลย จะเป็นการทำงานลักษณะทำทางเดียว ใช้ในการเขียนโปรแกรมค่อนข้างน้อย T F

IF/THEN/ELSE ผังงานนี้จะตรวจสอบเงื่อนไข ถ้าจริงทำด้านซ้ายมือ ถ้าไม่จริงจะทำด้านขวามือ IF Condition Then Statement Else

IF/THEN/ELSE/IF…(Net if) พบบ่อยมากที่สุด เป็นการตรวจสอบเงื่อนไขหลาย ๆ ครั้ง ถ้าเงื่อนไขที่ตรวจสอบเป็นจริงก็จะทำภายใต้เงื่อนไขที่เป็นจริง ดังตัวอย่าง

จะมีเงื่อนไขให้ตัดสินใจหลาย ๆ เงื่อนไข If…….Then statement Else if…….then else if…..then

เมื่อพอเข้าใจแล้ว ให้ปฏิบัติกิจกรรมชิ้นที่ 3 ครับ ปฏิบัติเสร็จกลับบ้านได้

การทำซ้ำ แบบ Do..While ก่อนที่เข้าไปทำงานในขั้นการทำซ้ำ จะต้องมีการตรวจสอบเงื่อนไขก่อน ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจึงจะเข้าทำ และจะวนทำซ้ำอยู่ถ้าเงื่อนไขยังคงเป็นจริง และจะออกจากการทำซ้ำ เมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ

While Year <= 10 Then Statement 1 Statement 2

ทำซ้ำทำจนกระทั่ง (Repeat….Until) การทำซ้ำแบบนี้ จะไม่มีการตรวจสอบเงื่อนไขก่อน แต่จะเข้าทำก่อนอย่างน้อย 1 ครั้ง แล้วจึงไปตรวจสอบเงื่อนไข ถ้าเงื่อนเขเป็นเท็จจะยังคงวนทำ(ซ้ำ)อยู่และจะออกจากการทำซ้ำเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง

Repeat Statement 1 Statement 2 Until……….. เงื่อนไข

ฝึกปฏิบัติโดยการเขียนโปรแกรม ด้วยภาษาปาสคาล