สมาชิกกลุ่ม 9 1. นางจริยา เอียบสกุล วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
Advertisements

บทที่ 12 ระบบบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ถาวร
การอนุรักษ์พลังงานและการประเมินผล
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
รูดอล์ฟ ดีเซล.
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
ข้อดีข้อเสียของ VLAN.
การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
คุณสมบัติของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว (Hardened Concrete)
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
การผลิตกระเเสไฟฟ้า จากกังหันลม.
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
อะไรคือ “ไฮบริด”. อะไรคือ “ไฮบริด” ไฮบริด ( hybrid) คือ ระบบการทำงานของเครื่องยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สองระบบทำงานร่วมกัน โดยทั่วไปแล้วหมายถึงการทำงานร่วมกันระหว่างระบบสันดาปภายในที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงทำงานร่วมกับระบบมอเตอร์ไฟฟ้า.
การจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
การลดความชื้นในโรงพยาบาลทันตกรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร
ลำดับการนำเสนอ ความหมายและความจำเป็นของเทคโนโลยีสะอาด
การขนส่งผักและผลไม้.
การศึกษาและพัฒนาอาคารวัดปริมาณน้ำ ที่มีระดับต่างคงที่ (CHO)
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
ระบบเครือข่ายแบบ Peer to Peer
Combined Cycle Power Plant
คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
การใช้ก๊าซธรรมชาติในยานยนต์ ( NGV)
แนวทางการประหยัดพลังงานของคณะฯ
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
การวางผังของสถานประกอบการ
พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
ระบบเครื่องปรับอากาศ
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
เครื่องดูดฝุ่น.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
ความเสี่ยงด้านอุปกรณ์และเครื่องจักรกล แนวทางการป้องกัน
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
8. 3 ที่มาของปัญหาด้านคุณภาพน้ำ 1.) ประชากรเพิ่ม …. โดยเฉพาะในเขต ชุมชนหนาแน่น 2.) การใช้เทคโนโลยีไม่ถูกวิธี / ใช้มาก / ใช้ ไม่เหมาะสม … เกิดฝนกรดจากการเผา.
ENERGY SAVING BY HEAT PUMP.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเรื่อง กำหนดมาตรฐานค่าความทึบแสงของเขม่าควันจากสถานประกอบกิจการที่ใช้ หม้อไอน้ำ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
Module 1 บทนำ วัตถุประสงค์
“เทคโนโลยีดีเซลอีซูซุ” เครื่องยนต์รุ่น 4JJ1-TC ซูเปอร์คอมมอนเรล
พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย
โดย สถานีพัฒนาอาหารสัตว์สุพรรณบุรี
ปุ่มชงกาแฟ ปุ่มจ่ายน้ำร้อน ปุ่มจ่ายไอน้ำ วาล์วจ่ายไอน้ำ ก้านจ่ายไอน้ำ
วงจรอัดอากาศรถจักร ALSTHOM
บทที่3 ระบบการผลิตและการวางแผนกระบวนการผลิต
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเรื่อง กำหนดให้คลังน้ำมันเชื้อเพลิงเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ.
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่องระบบรับและจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงเหนือถังสำหรับระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 6 พฤษภาคม.
งานวิจัย (Thesis Project)
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมาชิกกลุ่ม 9 1. นางจริยา เอียบสกุล วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต 1. นางจริยา เอียบสกุล วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต 2. นายไชยวัฒน์ อังกาบ โรงเรียนพระรามหกเทคโนโลยี 3. นายสุขุม ปู่สีทา โรงเรียนเทคโนโลยีนครปฐม 4. นางพงษ์ทิพย์ วิจิตรชัยนันท์ โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม 5. นางธราภรณ์ สมบูรณ์พงษ์กิจ โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม

การประหยัดพลังงานสำหรับหม้อไอน้ำ (STEAM BOILER)

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม บอกหลักการผลิตไอน้ำได้ บอกชนิดของหม้อไอน้ำได้ บอกวิธีการประหยัดพลังงานของหม้อไอน้ำได้

หลักการผลิตไอน้ำ

บทที่9 การประหยัดพลังงานสำหรับหม้อไอน้ำ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 112 อ้างอิงแผ่นใส ES 113

ชนิดของหม้อไอน้ำ Cylindrical boiler Water tube boiler Special Boiler

1. Cylindrical boiler

ข้อดีของ Cylindrical boiler โครงสร้างไม่ซับซ้อน การบังคับควบคุม-เดินเครื่องทำได้สะดวก ต้นทุนเครื่องจักรค่อนข้างถูก พื้นที่ติดตั้งน้อย ปริมาณการใช้ไอน้ำเปลี่ยนไป ความดันไอน้ำจะเปลี่ยนแปลงน้อย

ข้อเสีย ของ Cylindrical boiler ไม่เหมาะสำหรับกำเนิดไอน้ำความดันสูง ไม่เหมาะสำหรับกำเนิดไอน้ำปริมาณมาก ใช้เวลานานกว่าจะกำเนิดไอน้ำตามที่กำหนดได้

2. Water tube boiler

ข้อดีของ Water tube boiler มีท่อน้ำจำนวนมาก มีพื้นที่ถ่ายเทความร้อนมาก และสามารถสร้างหม้อไอน้ำขนาดใหญ่ได้

ท่อน้ำและ drum มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดเล็ก จึงเหมาะกับการกำเนิดไอน้ำความดันสูง

ท่อน้ำเรียงกันอย่างหนาแน่น การเผาไหม้สามารถ กำเนิดไอน้ำได้จำนวนมาก ต่อพื้นที่ถ่ายเทความร้อนหนึ่งหน่วย

มีความยืดหยุ่นในการจัดเรียงท่อน้ำสูง สามารถออกแบบรูปร่างของห้องเผาไหม้ และหม้อไอน้ำได้อย่างอิสระมากขึ้น

รักษาประสิทธิภาพของหม้อไอน้ำให้อยู่ในระดับสูงได้

ข้อเสียของ Water tube boiler เนื่องจากน้ำในหม้อจะไหลผ่านท่อน้ำซึ่งมีขนาดเล็ก จึงต้องใช้น้ำที่มีคุณภาพสูง และต้องมีระบบบำบัดน้ำที่ดี เทียบกับพื้นที่ถ่ายเทความร้อน ส่วนที่เป็นน้ำจะมีขนาดเล็กแต่กำเนิดไอน้ำใน ปริมาณมาก ดังนั้น เมื่อภาระไอน้ำเปลี่ยนแปลงไป ความดันและอุณหภูมิของ ไอน้ำจะเปลี่ยนแปลงค่อนข้างมาก เนื่องจาก drum มีขนาดเล็ก พื้นที่ผิวน้ำจะมีขนาดเล็กเทียบกับส่วนที่เป็นน้ำ ดังนั้น จึงเกิด priming ได้ง่าย มีโครงสร้างซับซ้อน ต้องใช้ความระมัดระวังในการใช้งาน

3. Special Boiler Waste Heat Boiler Fluidized Bed Boiler

บทที่9 การประหยัดพลังงานสำหรับหม้อไอน้ำ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 112 อ้างอิงแผ่นใส ES 113

ความร้อนสูญเสียในหม้อไอน้ำ ความร้อนสูญเสียในก๊าซไอเสีย ความร้อนสูญเสียจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ ความร้อนสูญเสียจากเชื้อเพลิงที่ไม่เผาไหม้ เช่น เขม่า ความร้อนสูญเสียจากการแผ่รังสี ความร้อนสูญเสียอื่นๆ เช่น blow down หรือ drain ของน้ำในหม้อไอน้ำ หรือจากไอน้ำรั่ว ฯลฯ

เทคนิคการประหยัดพลังงานในการผลิตไอน้ำ การประหยัดพลังงานในการส่งจ่ายไอน้ำ การประหยัดพลังงานในการใช้ไอน้ำ การนำความร้อนทิ้งกลับมาใช้ใหม่ การนำแฟลซสตีมกลับมาใช้ใหม่ บทที่9 การประหยัดพลังงานสำหรับหม้อไอน้ำ จากคู่มือผู้เรียน หน้า 115 อ้างอิงแผ่นใส ES 117

สมาชิกกลุ่ม 9 1. นางจริยา เอียบสกุล วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต 1. นางจริยา เอียบสกุล วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต 2. นายไชยวัฒน์ อังกาบ โรงเรียนพระรามหกเทคโนโลยี 3. นายสุขุม ปู่สีทา โรงเรียนเทคโนโลยีนครปฐม 4. นางพงษ์ทิพย์ วิจิตรชัยนันท์ โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม 5. นางธราภรณ์ สมบูรณ์พงษ์กิจ โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม