การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างและคุณสมบัติพื้นฐาน ของสายอากาศแบบต่างๆ
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
สื่อที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
Photochemistry.
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
Electromagnetic Wave (EMW)
ทัศนศาสตร์ประยุกต์ 1. บทนำ 2. แสงเชิงเรขาคณิต 3. โพลาไรเซชัน
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Basic wave theory.
Ultrasonic sensor.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ไมโครโฟน (Microphone)
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
Mahidol Witthayanusorn School
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
ระบบโทรคมนาคม.
ระบบโทรคมนาคม.
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารประเภทวิทยุ
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชุดรับสัญญาณจากดาวเทียม
Principles of Communications Chapter 1 Introduction
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
โลกของเรา (โครงสร้างและส่วนประกอบ)
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ดวงจันทร์ (Moon).
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
คณะผู้จัดทำ 1. ด. ญ. สุกันยา มะลิวัลย์ 2. ด. ญ. พชรมน กองอรรถ 3. ด. ญ. สุรัสวดี ภู่รักษ์ เสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติดรัมย์ เครือข่ายระบบไร้สาย wirless LAN.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
วิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย ช่วงปี History in of Television in Thailand.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
ระบบวิทยุกระจายเสียง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ หน่วยที่ 3 การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ

การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ

โครงสร้างของคลื่นวิทยุ

คุณสมบัติของคลื่น คุณสมบัติพื้นฐานของคลื่น 4 ประการ คือ 1. การสะท้อนกลับ (Reflection) 2. การหักเห (Refraction) 3. การแพร่กระจายคลื่น (Diffraction) 4. การแทรกสอดของคลื่น (Interference)

1. การสะท้อนกลับ (Reflection)

มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน

2. การหักเห (Refraction)

การหักเห : คลื่นวิทยุเดินทางจากตัวกลางหนึ่ง ไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าไม่เหมือนกัน โดยที่มุมตกกระทบ ณ ตัวกลางที่สองไม่เป็นมุมฉาก พลังงานคลื่นส่วนหนึ่งจะสะท้อนกลับเข้าไปยังตัวกลางที่หนึ่ง โดยมี มุมตกเท่ากับมุมสะท้อน

การหักเหของคลื่น

3. การแพร่กระจายคลื่น (Diffraction)

การแพร่กระจายหรือการเบี่ยงเบน

4. การแทรกสอดของคลื่น (Interference)

เกิดจากแหล่งกำเนิดแหล่งเดียว แต่เดินทางต่างกัน เนื่องจาก การสะท้อนที่พื้นผิว

หัวข้อ 3.1 ชั้นบรรยากาศ 3.2 การแพร่กระจายคลื่นแบบต่าง ๆ 3.2.1 Free space Propagation 3.2.2 Reflection Propagation 3.2.3 Diffraction Propagation 3.2.4 Ionosphere Reflection Propagation 3.2.5 Tropospheric Propagation

ชั้นบรรยากาศ แบ่งตามความหนาแน่นของก๊าซ 1.โทรโปสสเฟียร์ 0-10 กม. 2.ไอโซโนสเฟียร์ 10-50 กม. 3.ไอโอโนสเฟียร์ 80-600 กม. 4. เอกโซเฟียร์ สูงเกิน 600 กม.

การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ

ประเภทของคลื่นวิทยุ แบ่งตามลักษณะการเดินทาง 1. คลื่นดิน 2. คลื่นอวกาศ 3. คลื่นฟ้า

สิ่งที่ต้องคำนึงถึง การลดทอนสัญญาณ จะต้องน้อยที่สุด

ประเภทของคลื่นวิทยุ

องค์ประกอบของคลื่นวิทยุ

DIRECT WAVE GROUND REFLECTED WAVE SURFACE    WAVE

1. คลื่นดิน (Ground wave) หรือ คลื่นผิวดิน (Surface wave)

คลื่นผิวดิน คลื่นวิทยุค่อย ๆ จางหาย สายอากาศส่ง สายอากาศรับ

ความถี่ที่เหมาะสมสำหรับคลื่นดิน ย่านความถี่ LF : Low Frequency MF : Medium Frequency

ระบบสื่อสารโดยใช้คลื่นดิน -วิทยุกระจายเสียงระบบ AM -ระบบนำร่องเรือมหาสมุทร

2. คลื่นอวกาศ (Space wave) หรือคลื่นตรง (Direct wave)

คลื่นอวกาศหรือคลื่นตรง

ระบบสื่อสารโดยใช้คลื่นอวกาศ -วิทยุโทรทัศน์ระบบ VHF - วิทยุโทรทัศน์ระบบ UHF

การแพร่กระจาย คลื่นความถี่ VHF และ UHF

อุปสรรค VHF, UHF 1. ภูมิประเทศ 2. ความโค้งของ ผิวโลก

คลื่นฟ้า (Sky wave)

การแพร่กระจายคลื่นแบบ Refraction Wave

คลื่นฟ้า (Sky wave) IONOSPHERE SKY WAVES GROUND WAVES

ชั้นบรรยากาศ

ชั้นไอโอโนสเฟียร์ ความสูง เหนือผิวโลก ความสูง เหนือผิวโลก 50-400 กิโลเมตร

ชั้นบรรยากาศในการสื่อสาร โดยใช้คลื่นฟ้า ชั้นไอโอโนสเฟียร์ (Ionosphere) ความสูง ชั้น D 50-90 กม. ชั้น E 90-130 กม.

ความสูง ชั้น F1 สูง 200-220 กม. ชั้น F2 สูง 250-500 กม. โดยระดับการแตกตัวของอิออนในแต่ละชั้นจะแตกต่างกัน

ขีดจำกัดการสื่อสาร โดยใช้คลื่นฟ้า -ได้ผลดีเฉพาะย่านความถี่ HF เท่านั้น คือความถี่ไม่เกิน 30 MHz

ระบบสื่อสารโดยใช้คลื่นฟ้า ย่านความถี่ HF ย่านความถี่ MF ในเวลากลางคืน

ความสูงจริงและความสูงเสมือน

ระยะสกิป (Skip Distance)

การสื่อสารแบบหลายฮอป (Multiple-Hobp)

การส่งคลื่นวิทยุแบบโทรโปสแกตเตอร์ (Troposcatter หรือ Tropospheric scatter )

การสื่อสารดาวเทียม

ระยะสายตา (Line of Sight : LOS)

การสื่อสารในระยะสายตา (Line of Sight) เครื่องส่ง เครื่องรับ โลก

สูตร d=4.12(HT+HR)-----(!) คำนวณ Line of Sight : LOS สูตร d=4.12(HT+HR)-----(!) d= 4.12 (ความสูงเสาส่ง + ความสูงเสารับ) ขอบคุณ