ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารมี 2 ประเภทคือ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
Advertisements

การพูด.
มนุษยสัมพันธ์สร้างสรรค์งาน
เรื่อง น่าคิด.
เรื่องราวของหินอ่อน.
เคล็ดลับแห่งความสำเร็จ
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
คำว่ารู้สึกผิด คุณเจะนะฮ์ สะอิ
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
ความหมายของการโน้มน้าวใจ
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
สิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า “ ผู้หญิง ”
การสื่อสารเพื่อการบริการ
ก ล เ ม็ ด เกร็ดการนำเสนอ.
ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
รากฐานของตึกคืออิฐ รากฐานของชีวิตคือหนังสือ
สำนวนชวนคิด รุ่งรักษ์ นุ่มไทย.
โดย... อาจารย์อ้อ สุธาสินี
บทนำ บทที่ 1.
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
คุณค่าความเป็นหญิงรู้จริงเรื่องปฏิเสธ
พระวาจา ทรง ชีวิต พฤษภาคม 2010.
พลังพ่อแม่...พลังครอบครัว
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
การส่งเสริมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กอย่างสร้างสรร
ผมมี..ภรรยา 4 คน.
น้ำตาของผู้หญิงคนหนึ่ง
Music: Smoke gets in your eyes Pictures By: Unknown source.
ดี ร้าย แล้วแต่ใครจะมอง.
การใช้ภาษา เพื่อการสื่อสาร
A good reminder... ♫ ♫.
อาณ์รมของเด็ก     ลักษณะเด่นทางอารมณ์ของเด็กวัย 3-5 ขวบ มักเป็นเด็กที่แสดงออกอย่างเปิดเผยชัดเจน และแสดงออกตรง ๆ เช่น รัก รื่นเริง โกรธ โมโห หงุดหงิด อิจฉา.
KM เทคนิคสู่ความสำเร็จ การบริการระดับ 7 ดาว.
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน นางพัทธนันท์
ความผิดปกติทางเพศ เฟตติชิซึ่ม (fetishism).
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ข้อมูล
หลักสูตร ”การพัฒนาบุคลิกภาพสู่ความสำเร็จ”
เรื่อง การใช้ท่าทางประกอบการพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
เมื่อถึงฤดูร้อน ต้นมู่จิ่น (rose of Sharon) จะออกดอกบาน แม่มองไปยังดอกมู่จิ่นสีขาวบริสุทธิ์ เล่าด้วยเสียงสั่นคลอนพร้อมน้ำตาคลอเบ้า “ตอนนั้นแม่ซุ่มซ่ามจริงๆ.
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
วาทนิเทศและเทคนิคการนำเสนอ
นี่เป็นเรื่องของพี่น้องสองคน ที่อาศัยอยู่ อย่างกลมเกลียวกัน เป็นเวลาหลายปี เขาอาศัยอยู่ในฟาร์มคนละที่ แต่วันหนึ่ง...
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
นางสุพัณณรัฎฐ์ ประชานิยม วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
สื่อประกอบการสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ ภาษาเพื่อการสื่อสาร
รายงาน เรื่อง ทักษะปฏิเสธทางเพศ โดย เด็กหญิง สมัชญา ใจรักษา เลขที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้วเขต.
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ขอให้เธอลุยต่อๆไป เป็นสิ่งที่ดีที่เธอรู้จักบทบาท ของเธอในชีวิต.
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ทักษะการปฏิเสธทางเพศ
บทลงโทษด้วย ความรัก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารมี 2 ประเภทคือ คือสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือที่สำคัญที่สุดในการสื่อความเข้าใจระหว่างกันของคนในสังคม ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารมี 2 ประเภทคือ 1.วจนภาษาหมายถึงภาษาพูด และภาษาเขียน 2.อวจนภาษา อ แปลว่าไม่ หมายถึงภาษาที่ไม่ใช่ภาษาพูดและภาษาเขียนแต่เป็นภาษากาย

ประเภทของอวจนภาษา 1.สายตา(เนตรภาษา) เป็นการแสดงออกทางดวงตาซึ่งจะต้องสอดคล้องกับการแสดงออกทางสีหน้า เช่นการหรี่ตาแสดงออกถึงความไม่แน่ใจ 2.กิริยาท่าทาง( อาการภาษา) เป็นการแสดงกิริยาท่าทางของบุคคลสามารถสื่อความหมายได้โดยไม่ต้องใช้คำพูดเช่นการพยักหน้าแสดงถึงการยอมรับหรือตกลง การยิ้มแสดงถึงความสุขเป็นต้น

3.สิ่งของหรือวัตถุ(วัตถุภาษา)เป็นอวัจนภาษาที่สามารถสื่อความหมายได้จากวัตถุที่บุคคลใช้เช่นเสื้อผ้า เครื่องประดับเช่นสวมแหวนนิ้วนางซ้ายของชายและหญิงแสดงว่าแต่งงานแล้วหรือใช้ของแบรนด์เนมแต่งกายภูมิฐานแสดงว่ามีฐานะดีเป็นต้น 4. น้ำเสียงหรือ(ปริภาษา) เป็นอวัจนภาษาที่แฝงอยู่ในภาษาพูดได้แก่ความดัง ความเบาของน้ำเสียง การพูดเร็วหรือรัว การพูดที่หยุดเป็นช่วงๆแสดงให้เห็นถึงอารมณ์กลัวหรือเสียงสั่นเครือแสดงถึงความเศร้าเป็นต้น 5.เนื้อที่หรือช่องว่าง(เทศภาษา) ช่อองว่างของสถานที่หรื่อระยะใกล้ไกลที่บุคคลสื่อสารกันเป็นอวัจนภาษาที่สื่อสารให้เข้าใจกันได้เช่นระยะห่างของหญิงชาย การเดินคลอเคลียกันของชายหญิงย่อมแสดงถึงความสัมพันธ์ของคนนั้นได้ 6.กาลเวลา(กาลภาษา) เวลาเป็นสิ่งที่สามารถสื่อความหมายได้เช่นการไปก่อนเวลาสอบแสดงถึงความสำคัญของสิ่งนั้น ในวัฒนธรรมตะวันตกการตรงต่อเวลาถือว่ามีความสำคัญมาก การไม่ตรงต่อเวลานัดหมายถือว่าเป็นการดูถูกและเสียมารยาทเป็นอย่างยิ่ง เป็นต้น 7.การสัมผัส(สัมผัสภาษา) เป็นอวัจนภาษาที่แสดงออกถึงการเพื่อสื่อความรู้สึก อารมณ์ความปรารถนาในใจของผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร เช่นการโอบกอด แสดงถึงความรักความห่วงใย ปลอบประโลมเป็นต้น

สรุปความสัมพันธ์ระหว่างการใช้วัจนภาษาและอวัจนภาษามีดังนี้ 1.ใช้แทนกันการใช้อวัจนภาษาแทนวัจนภาษากันเช่นเช่นชายหนุ่มถามหญิงสาวว่าคุณรักผมไหม หญิงสาวได้แต่ยิ้มและพยักหน้าแทนคำตอบ 2.ใช้ซ้ำกันเช่นเพื่อนชวนกินส้มตำเราตอบปฏิเสธพร้อมส่ายหน้า การส่ายหน้าเป็นอวัจนภาษาที่ซ้ำกับคำพูดที่พูดไปหากเพื่อนไม่ได้ยินก็สามารถเข้าใจได้จากการส่ายหน้า 3.ใช้เสริมกัน การใช้อวัจนภาษาเพิ่มหรือเสริมน้ำหนักให้แก่คำพูดเพื่อแสดงอารมณ์ ความรู้สึกเช่นแม่มีน้ำเสียงสั่นเครือเมื่อพูดถึงชีวิตที่ลำบากที่ต้องเลี้ยงดูลูกที่พิการทางสมอง พร้อมกับมีน้ำตาคลอเบ้าใบหน้าหม่นหมอง 4.ใช้เน้นกัน การใช้อวัจนภาษาเน้นข้อความที่พูดเช่นชาวบ้านพูดว่าตอนนี้ระดับน้ำในหมุ่บ้านสูงถึงเอวพร้อมทำมือประกอบ 5.ใช้ขัดแย้งกัน การใช้อวัจนภาษาที่สื่อความหมายตรงกันข้ามกับวจนภาษาเช่นเราขอยืมดินสอเพื่อนเพื่อนบอกว่าได้แต่มีสีหน้าเฉยเมยไม่เต็มใจแต่ก็ยื่นดินสอให้